Skip to main content

วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ เนื้อหา ประวัติ การทำงาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อ้างอิง รายการเลือกการนำทางประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย (๕ ธันวาคม ๒๕๓๐)วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ กก.สอบทรัพย์สิน-มือบี้ภาษีเพิ่มข้อมูล

บุคคลที่ไม่ได้อธิบายความสำคัญบุคคลทั้งหมดที่ไม่ได้อธิบายความสำคัญบุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2473คตส.บุคคลจากจังหวัดจันทบุรีบุคคลจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์บุคคลจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรบุคคลผู้ได้รับรางวัลครุฑทองคำบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่บุคคลจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียลศาสตราจารย์นักบัญชีอธิบดีกรมสรรพากรอธิบดีกรมสรรพสามิตข้าราชการพลเรือนชาวไทยสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.สมาชิกเหรียญจักรพรรดิมาลาบุคคลจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์


กรมสรรพากรกรมศุลกากรคตส.คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจังหวัดจันทบุรีโรงเรียนเซนต์คาเบรียลคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยอเมริกันกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.สหรัฐอเมริกาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




วิโรจน์ เลาหะพันธุ์




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา




ศ.วิโรจน์ เลาหะพันธุ์


ศาสตราจารย์พิเศษ[1] วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ อดีตอธิบดีกรมสรรพากร อดีตอธิบดีกรมศุลกากร อดีตนายกสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2528-2532) [2] เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการบัญชีภาษีอากร ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ คตส. ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2549




เนื้อหา





  • 1 ประวัติ


  • 2 การทำงาน


  • 3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์


  • 4 อ้างอิง




ประวัติ


วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2473 (89 ปี) ที่จังหวัดจันทบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยอเมริกัน กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 22



การทำงาน


วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ เริ่มรับราชการกรมสรรพากร ในปี พ.ศ. 2496 ในตำแหน่งนักบัญชีตรี กองภาษีเงินได้นิติบุคคล หัวหน้ากองภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรจังหวัดภูเก็ต จากนั้นได้รับทุนไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา ก่อนกลับมารับตำแหน่งผู้ตรวจภาษี เมื่อ พ.ศ. 2505 ต่อมาเป็นผู้อำนวยการกองภาษีการค้า พ.ศ. 2514, ผู้อำนวยการกองภาษีเงินได้นิติบุคคล พ.ศ. 2517, รองอธิบดีกรมสรรพากร พ.ศ. 2517, รองปลัดกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2521, อธิบดีกรมธนารักษ์ พ.ศ. 2523 และเป็นอธิบดีกรมสรรพากร เมื่อ พ.ศ. 2529



เครื่องราชอิสริยาภรณ์



  • พ.ศ. 2530 - Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก [3]


อ้างอิง




  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2521/D/150/4603.PDF


  2. http://web.archive.org/web/20010210233358/http://www.icaat.or.th/about/main_sub1.htm


  3. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย (๕ ธันวาคม ๒๕๓๐) เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๔๗ ง ฉบับพิเศษ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ หน้า ๑



  • วิโรจน์ เลาหะพันธุ์ กก.สอบทรัพย์สิน-มือบี้ภาษี









ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=วิโรจน์_เลาหะพันธุ์&oldid=8224813"










รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.160","walltime":"0.230","ppvisitednodes":"value":417,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":47648,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":388,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":10,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":1629,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 163.934 1 -total"," 48.98% 80.292 1 แม่แบบ:ใคร"," 39.96% 65.501 1 แม่แบบ:Ambox"," 16.66% 27.316 1 แม่แบบ:Find_sources_mainspace"," 13.01% 21.331 2 แม่แบบ:Navbox"," 12.56% 20.598 1 แม่แบบ:อธิบดีกรมสรรพากร"," 10.54% 17.280 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 8.27% 13.559 1 แม่แบบ:วันเกิดและอายุ"," 4.49% 7.361 1 แม่แบบ:อธิบดีกรมสรรพสามิต"," 4.49% 7.358 1 แม่แบบ:ชื่อเดือน"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.041","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1592055,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1269","timestamp":"20190418021600","ttl":3600,"transientcontent":true);mw.config.set("wgBackendResponseTime":371,"wgHostname":"mw1269"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области