Skip to main content

ประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย เนื้อหา ชื่อเรียก ประวัติศาสตร์ การเมือง การแบ่งเขตการปกครอง ภูมิศาสตร์ กองทัพ เศรษฐกิจ ประชากร วัฒนธรรม อ้างอิง แหล่งข้อมูลอื่น รายการเลือกการนำทาง42°0′N 21°26′E / 42.000°N 21.433°E / 42.000; 21.4332002 Census resultsPopulation"Macedonia, FYR""Macedonia and Greece: Deal after 27-year row over a name""101 facts about Macedonia"the original"FIELD LISTING :: RELIGIONS"เว็บไซต์อย่างเป็นทางการMacedoniaMacedoniaประเทศนอร์ทมาซิโดเนียMacedoniaKey Development Forecasts for the Republic of Macedoniaเพิ่มข้อมูล

ประเทศนอร์ทมาซิโดเนียสาธารณรัฐรัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534บทความเกี่ยวกับ ประเทศและเขตการปกครอง ที่ยังไม่สมบูรณ์


อังกฤษมาซิโดเนียแอลเบเนียอังกฤษมาซิโดเนียแอลเบเนียคาบสมุทรบอลข่านยุโรปภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวางแคว้นมาซิโดเนียของกรีซยูโกสลาเวียสงครามโลกครั้งที่ 2สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียสลาฟมาซิโดเนียพ.ศ. 2534ประเทศกรีซโรเบิร์ต เอส. บี. บีเคสกรีกจักรวรรดิโรมันยูโกสลาเวียตีโต17 พฤศจิกายนพ.ศ. 2534ยอร์ช อิวานอฟโซราน เซฟอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนยุโรปอนุสัญญาเจนีวาสหประชาชาติพ.ศ. 2548หมีหมูป่าหมาป่าสุนัขจิ้งจอกกระรอกเลียงผากวางไม้ดอกมอสเฟิร์นมาซิโดเนียพ.ศ. 2548อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลามภาษามาซิโดเนียภาษามาซิโดเนียภาษาเซอร์เบียบัลแกเรียภาษามาซิโดเนียสงครามโลกครั้งที่สองสถาปัตยกรรมดนตรีคริสตจักรศตวรรษที่ 1116สหพันธ์ฟุตบอลแห่งมาซิโดเนียค.ศ. 2002พ.ศ. 2551สโกเปีย









(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Enu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());



ประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย


จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา


บทความนี้เกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับความหมายอื่น ดูที่ มาซิโดเนีย





































































สาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนีย

Република Северна Македонија (มาซิโดเนีย)
Republika e Maqedonisë së Veriut (แอลเบเนีย)




ตราแผ่นดิน

เพลงชาติ: 
แดแนสนัตมาแกดอนียา
"วันนี้เหนือมาซิโดเนีย"



เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)

สโกเปีย
42°0′N 21°26′E / 42.000°N 21.433°E / 42.000; 21.433
ภาษาราชการ
ภาษามาซิโดเนีย1
ภาษาแอลเบเนีย2
การปกครอง
สาธารณรัฐระบบรัฐสภา
•  ประธานาธิบดี ยอร์แก อีวานอฟ
•  นายกรัฐมนตรี ซอรัน ซาแอฟ
ได้รับเอกราช จาก ยูโกสลาเวีย 
•  ประกาศ
8 กันยายน พ.ศ. 2534 
พื้นที่
•  รวม
25,333 ตร.กม. (146)
9,779 ตร.ไมล์ 
•  แหล่งน้ำ (%) 1.9
ประชากร
•  2554[1] (ประเมิน) 2,058,539 (146)
•  ความหนาแน่น 80.1 คน/ตร.กม. (122)
210.5 คน/ตร.ไมล์

จีดีพี (อำนาจซื้อ)
2560 (ประมาณ)
•  รวม $ 31.554 พันล้าน 
•  ต่อหัว $ 15,202 

จีดีพี (ราคาตลาด)
2560 (ประมาณ)
•  รวม $ 11.416 พันล้าน 
•  ต่อหัว $ 5,500 

จีนี (2558)
35.6[2] 

HDI (2559)

Increase 0.748 (สูง) (82nd)
สกุลเงิน
เดนาร์มาซิโดเนีย (MKD)
เขตเวลา
CET (UTC+1)
 •  ฤดูร้อน (DST)
CEST (UTC+2)
โดเมนบนสุด
  • .mk

  • .мкд

รหัสโทรศัพท์ 389
1เป็นภาษาประจำชาติและภาษาทางการในทุกด้านตลอดทั่วทั้งดินแดนของรัฐและในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2เป็นภาษาทางการร่วมในระดับรัฐ (ยกเว้นในด้านกลาโหม ตำรวจกลาง และนโยบายการเงิน) และในหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่มีจำนวนผู้พูดภาษานี้ตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไป

นอร์ทมาซิโดเนีย (อังกฤษ: North Macedonia; มาซิโดเนีย: Северна Македонија; แอลเบเนีย: Maqedonia e Veriut) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนีย (อังกฤษ: Republic of North Macedonia; มาซิโดเนีย: Република Северна Македонија; แอลเบเนีย: Republika e Maqedonisë së Veriut) เป็นรัฐอิสระบนคาบสมุทรบอลข่านในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนี้มักจะเรียกเฉย ๆ ว่า "มาซิโดเนีย" ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนกับภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง และแคว้นมาซิโดเนียของกรีซ นอร์ทมาซิโดเนียเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ชื่อมาซิโดเนีย มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 38 และประชากรเกือบร้อยละ 44 ของพื้นที่ที่ใหญ่กว่าพื้นที่ที่ปกครองโดยนอร์ทมาซิโดเนีย ก่อนหน้านี้เป็นส่วนทางใต้สุดของยูโกสลาเวีย


พรมแดนปัจจุบันได้รับการกำหนดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียก่อตั้ง "สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย" (Socialist Republic of Macedonia) ซึ่งเป็นที่โต้แย้งว่า เป็นการยอมรับสลาฟมาซิโดเนีย เป็นชนชาติแยกต่างหากภายในยูโกสลาเวีย ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 ได้แยกจากยูโกสลาเวียอย่างสันติโดยเปลี่ยนชื่อเป็น "สาธารณรัฐมาซิโดเนีย" และไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพิ่มเติม อย่างไรก็ดี หลังจากนั้นเป็นต้นมา ประเทศได้เกิดกรณีพิพาทกับประเทศกรีซอย่างยาวนานเกี่ยวกับการใช้ชื่อ "มาซิโดเนีย" จนกระทั่งในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2561 รัฐบาลมาซิโดเนียและรัฐบาลกรีซได้บรรลุข้อตกลงเบื้องต้นเพื่อยุติข้อพิพาทดังกล่าว ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศนี้ได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น สาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนีย[3]




เนื้อหา





  • 1 ชื่อเรียก


  • 2 ประวัติศาสตร์


  • 3 การเมือง

    • 3.1 ระบอบการปกครอง


    • 3.2 กฎหมายและศาล


    • 3.3 สิทธิมนุษยชน



  • 4 การแบ่งเขตการปกครอง


  • 5 ภูมิศาสตร์

    • 5.1 ภูมิอากาศ


    • 5.2 อุทยานแห่งชาติ


    • 5.3 สัตว์ป่า


    • 5.4 พืชพันธุ์



  • 6 กองทัพ


  • 7 เศรษฐกิจ

    • 7.1 การท่องเที่ยว



  • 8 ประชากร

    • 8.1 ศาสนา


    • 8.2 ภาษา


    • 8.3 เมืองในประเทศ



  • 9 วัฒนธรรม

    • 9.1 อาหาร


    • 9.2 กีฬา



  • 10 อ้างอิง


  • 11 แหล่งข้อมูลอื่น




ชื่อเรียก


ชื่อของประเทศเกิดขึ้นจากอาณาจักรกรีก Μακεδονία (มาเกโดนีอา) [4][5]ตั้งชื่อตามชาวมาซิโดเนียโบราณ ชื่อของพวกเขา Μακεδόνες (มาเกโดเนส) ความหมายคือ "สูงเรียว"[6] ซึ่งเหมือนกับคำ μακρός (มาโครส) ความหมาย "ยาวสูงสูง" ในภาษากรีกโบราณ "ภูเขา" หรือ "คนสูง" อาจเป็นคำอธิบายของประชาชน อย่างไรก็ตามโรเบิร์ต เอส. บี. บีเคส สนับสนุนว่าคำศัพท์ทั้งสองนี้มีพื้นฐานมาจากต้นกำเนิดของกรีกและไม่สามารถอธิบายได้ในแง่ของสัณฐานวิทยาของอินโด-ยูโรเปียน



ประวัติศาสตร์


ในสมัยประวัติศาสตร์ มาซิโดเนียเคยตกเป็นเมืองขึ้นของจักรวรรดิโรมัน มาซิโดเนียเป็นชื่อเรียกดินแดนในประวัติศาสตร์ที่มีพื้นที่ครอบคลุมบางส่วนของยูโกสลาเวีย กรีซ และบัลแกเรีย ในระหว่างปี ค.ศ. 1946-1949 เกิดสงครามกลางเมืองภายในกรีซ จึงทำให้นายพลตีโตแห่งยูโกสลาเวียประสบความสำเร็จในการเรียกร้องพื้นที่ส่วนหนึ่งของดินแดนมาซิโดเนียมาอยู่ภายใต้การปกครอง โดยเป็นสาธารณรัฐ 1 ใน 6 สาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย


ในปี ค.ศ. 1991 สาธารณรัฐสโลวีเนีย และโครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์โซโกวีนาได้เคลื่อนไหวแยกตัวเป็นเอกราชจากยูโกสลาเวีย ชาวมาซิโดเนียจึงได้จัดให้มีการลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราช และได้ประกาศเอกราชจากยูโกสลาเวียเมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1991 ซึ่งเป็นการแยกตัวโดยปราศจากการใช้กำลังต่อต้านจากยูโกสลาเวีย ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะยูโกสลาเวียกำลังสนับสนุนชาวเซิร์บในการสู้รบในบอสเนีย-เฮอร์โซโกวีนา ประกอบกับในมาซิโดเนียมีประชากรเชื้อสายเซิร์บจำนวนน้อย


ยูโกสลาเวียจึงไม่ต้องการเปิดศึก 2 ด้าน มาซิโดเนียประกาศเอกราชโดยใช้ชื่อประเทศว่า "สาธารณรัฐมาซิโดเนีย" (Republic of Macedonia - ROM) ตามรัฐธรรมนูญ และต่อมาได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติภายใต้ชื่อดังกล่าว แต่ได้รับการคัดค้านจากกรีซ โดยให้เหตุผลทางประวัติศาสตร์และดินแดนว่า การใช้ชื่อ Republic of Macedonia เป็นการส่อเจตนารมณ์ที่จะอ้างสิทธิครอบคลุมไปถึงดินแดนมาซิโดเนียส่วนที่อยู่ในกรีซ ในที่สุดคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้มีข้อมติที่ 817 (1993) ให้ใช้ชื่อ Former Yugoslav Republic of Macedomia (FYROM) ในการอ้างถึงมาซิโดเนียในสหประชาชาติจนกว่าประเทศทั้งสองจะตกลงกันได้ สหประชาชาติได้มีมติเมื่อวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1993 ประกาศรับรองมาซิโดเนียเข้าเป็นสมาชิกประเทศที่ 181 นอกจากนี้ มาซิโดเนียยังได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศอีกหลายองค์การ เช่น FAO, IAEA, IBRD, ICAO, ILO, IMF, OSCE, UNCTAD, UNESCO, UNIDO, WHO เป็นต้น



การเมือง




อาคารรัฐสภานอร์ทมาซิโดเนียในกรุงสโกเปีย



ระบอบการปกครอง


ระบอบประชาธิปไตย ภายใต้รัฐธรรมนูญซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ มาจากการเลือกตั้งโดยตรงโดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ นายยอร์ช อิวานอฟ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล ดำรงตำแหน่งวาระละ 4 ปี คณะรัฐมนตรีได้รับการเลือกจากเสียงข้างมากในสภาโซบาลจี ซึ่งเป็นสภาเดี่ยว นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน คือ นายโซราน เซฟ



กฎหมายและศาล


ศาลมีอำนาจดำเนินการโดยศาลซึ่งอยู่ภายใต้การพิจารณาของศาลฎีกา,ศาลรัฐธรรมนูญ, และสภาตุลาการของพรรครีพับลิกัน



สิทธิมนุษยชน


สาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนียเป็นผู้ลงนามอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนยุโรปและอนุสัญญาเจนีวาของสหประชาชาติเกี่ยวกับสถานะผู้ลี้ภัยและอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและรัฐธรรมนูญรับรองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานต่อพลเมืองชาวนอร์ทมาซิโดเนียทั้งหมด


แต่ยังคงเป็นปัญหาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ตามที่องค์กรสิทธิมนุษยชนในปี 2003 มีการวิสามัญผู้ทีถูกสงสัยว่าฆาตกรรมคุกคามและข่มขู่โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจ อย่างไม่เป็นธรรม[7]



การแบ่งเขตการปกครอง


หลังจากที่มีการผ่านกฎหมายใหม่และการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 ได้มีการแบ่งหน้าที่ของรัฐบาลท้องถิ่นระหว่างเทศบาล 78 แห่ง (општини, opštini ออปซตีนิ, เอกพจน์ - општина, opština ออปซตีนา) เมืองหลวงสโกเปีย กครองเป็นกลุ่มเทศบาล 10 แห่ง เรียกรวมกันว่า "นครสโกเปีย" (the City of Skopje)



ภูมิศาสตร์


ในทิศตะวันตกจะเป็นพื้นที่ที่มีภูเขา ส่วนในทิศตะวันออกจะเป็นพื้นที่ราบ



ภูมิอากาศ


นอร์ทมาซิโดเนียมีสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนผ่านจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนสู่ทวีป ฤดูร้อนอากาศร้อนและแห้งและฤดูหนาวก็ค่อนข้างหนาวเย็น ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ 1,700 มม. (66.9 นิ้ว) ในพื้นที่ภูเขาทางตะวันตกถึง 500 มม. (19.7 นิ้ว) ในพื้นที่ภาคตะวันออก มีสามเขตภูมิอากาศที่สำคัญในประเทศ



อุทยานแห่งชาติ


นอร์ทมาซิโดเนียประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติสามแห่ง คือ:



















ชื่อ
จัดตั้งขึ้น
ขนาด
ภาพ
อุทยานป่าไม้มาโรโว
1948
731 ตร.กม.

Mavrovo-Lake-Autumn.jpg
อุทยานป่าไม้เกริสิก้า
1958
227 ตร.กม.

Galichitsa.jpg
อุทยานป่าไม้เพอริสเตอร์
1948
125 ตร.กม.

Mount Pelister MK.jpg


สัตว์ป่า


ดูบทความหลักที่: สัตว์ป่าในประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย



ลิงซ์ยูเรเชีย


สัตว์ป่ามาซิโดเนียมีอยู่มากมายอาทิ เช่น หมี,หมูป่า,หมาป่า,สุนัขจิ้งจอก,กระรอก,เลียงผา และกวาง ลิงซ์ยูเรเชีย พบได้น้อยมากในเทือกเขาทางตะวันตกของมาซิโดเนียในขณะที่กวางสามารถพบได้ในพื้นที่ของ Demir Kapija



พืชพันธุ์


ดูบทความหลักที่: พืชพันธุ์ในประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย

พืชพันธุ์ของประเทศมาซิโดเนียมีประมาณ 210 ตระกูล มี 920 สกุล และประมาณ 3,700 ชนิดของพืช กลุ่มที่อุดมสมบูรณ์มากที่สุดคือไม้ดอกที่มีประมาณ 3,200 ชนิด ตามด้วยมอส 350 สายพันธุ์ และเฟิร์น 42 สายพันธุ์



กองทัพ




ดูบทความหลักที่: กองทัพนอร์ทมาซิโดเนีย

กองทัพแห่งสาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนีย เป็นชื่อของกองกำลังติดอาวุธของสาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนีย ความรับผิดชอบในการปกป้องอธิปไตยและความสมบูรณ์ของดินแดนนอร์ทมาซิโดเนียจากต่างชาติที่เป็นศัตรูกองทัพมาซิโดเนียเป็นหน่วยป้องกันที่ประกอบด้วยกองทัพ MIB (Армија) และกองทัพอากาศ (ВоеноВоздухопловство) ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 กองทัพประกอบด้วยมืออาชีพและทหารอาสาสมัครซึ่งได้รับการแปรเปลี่ยนเป็นกองทัพระดับมืออาชีพที่เข้ากันได้กับมาตรฐาน



เศรษฐกิจ



การท่องเที่ยว


การท่องเที่ยวเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของเศรษฐกิจของสาธารณรัฐนอร์ทมาซิโดเนีย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมมากมายของประเทศทำให้เป็นจุดหมายปลายทางที่น่าสนใจของผู้เข้าชม มีนักท่องเที่ยวประมาณ 700,000 คนต่อปี [8]







บาโทลา, คลาโทโว, มาร็อกโว



ประชากร
































การสำรวจมโนประชากรปี พ.ศ. 2545

มาซิโดเนีย
  
64.18%
แอลเบเนีย
  
25.17%
เติร์ก
  
3.85%
โรมานี
  
2.66%
เซิร์บ
  
1.78%
บอสนีแอก
  
0.84%
Vlach
  
0.48%
อื่นๆ
  
1.04%
ข้อมูลจการสำรวจมโนประชากรปี พ.ศ. 2545:[9]

ข้อมูลสำมะโนประชากรล่าสุดจากปี 2545 มีจำนวนประชากร 2,022,547 คน ประมาณการล่าสุดอย่างเป็นทางการจาก 2009 โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้ตัวเลข คือ 2,050,671 ตามข้อมูลสำรวจสำมะโนประชากรครั้งสุดท้ายที่ใหญ่ที่สุดกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศที่มีเชื้อชาติมาซีโดเนีย กลุ่มที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองคือชาวอัลเบเนียที่ปกครองส่วนมากทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศและถูกเลือกปฏิบัติ



ศาสนา















ศาสนาในนอร์ทมาซิโดเนีย (2002)[10]



  อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ (64.8%)


  อิสลาม (33.3%)


  คริสต์ศาสนิกชน (0.4%)


  อื่นๆ/ไม่มี (1.5%)



อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เป็นนิกายของศาสนาคริสต์ทีมีผู้นับถือในนอร์ทมาซิโดเนียเป็นอับดับหนึ่ง (64.8) รองมาคือศาสนาอิสลาม (33.3)






โบสถ์เซนต์จอร์จ (ซ้าย) และมัสยิด ŠarenaDžamija (ขว)



ภาษา
































ภาษาในนอร์ทมาซิโดเนีย
ปีค.ศ. 2002

ภาษามาซิโดเนีย
  
66.49%
ภาษาอัลแบเนีย
  
25.1%
ภาษาตุรกี
  
3.54%
ภาษาโรมานี
  
1.90%
ภาษาเซอร์เบีย
  
1.22%
ภาษาบอสเนีย
  
0.42%
Vlach
  
0.34%
อื่นๆ
  
0.95%

ภาษาราชการและภาษาพูดกันอย่างแพร่หลายคือภาษามาซิโดเนียซึ่งอยู่ในสาขาตะวันออกของกลุ่มภาษาสลาฟใต้ รองลงมาจากภาษามาซิโดเนียคือ ภาษาเซอร์เบีย ส่วนใหญ่พูดในทางตอนใต้ของเซอร์เบียและตะวันตกของบัลแกเรีย (และโดยพูดในภาคเหนือและตะวันออกของนอร์ทมาซิโดเนีย)


ภาษามาซิโดเนียได้รับการประมวลผลในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองและได้สะสมจากที่เจริญรุ่งเรือง



เมืองในประเทศ































































































วัฒนธรรม


ประเทศนอร์ทมาซิโดเนียมีมรดกทางวัฒนธรรมที่หลากหลายในด้านศิลปะสถาปัตยกรรมบทกวีและดนตรี มีสถานที่ทางศาสนาที่มีรอดจาการโจมตีจำนวนมาก บทกวีโรงภาพยนตร์และเทศกาลดนตรีจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ดนตรีมาซิโดเนียได้รับการพัฒนาภายใต้อิทธิพลของดนตรีคริสตจักรไบแซนไทน์ ประเทศนอร์ทมาซิโดเนียมีภาพไบเซนไทน์ที่ได้รับการเก็บรักษาไว้เป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่มาจากช่วงระหว่างศตวรรษที่ 11 ถึง 16



อาหาร



กีฬา




ทีมบาสเกตบอลมาซิโดเนียในช่วงเวลาที่ออกในระหว่างการแข่งขันกับลัตเวีย


ฟุตบอลและแฮนด์บอลเป็นกีฬายอดนิยมในนอร์ทมาซิโดเนีย ทีมฟุตบอลแห่งชาติถูกควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลแห่งมาซิโดเนีย สนามกีฬาในประเทศของพวกเขาคือสนามกีฬาฟิลิปที่สอง แฮนด์บอลเป็นกีฬาที่สำคัญของทีมอื่น ๆ ในประเทศ ในปีค.ศ. 2002 โคมีเล สโกเปีย ได้รับรางวัล EHF Women's Champions League Europe Cup การแข่งขันแฮนด์บอลชิงแชมป์หญิงยุโรปเกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2551 ในมาซิโดเนีย สถานที่จัดแข่งขันที่เกิดขึ้นตั้งอยู่ในสโกเปีย



อ้างอิง




  1. Population from the State Statistical Office.


  2. "Macedonia, FYR". World Bank..mw-parser-output cite.citationfont-style:inherit.mw-parser-output qquotes:"""""""'""'".mw-parser-output code.cs1-codecolor:inherit;background:inherit;border:inherit;padding:inherit.mw-parser-output .cs1-lock-free abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/65/Lock-green.svg/9px-Lock-green.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-limited a,.mw-parser-output .cs1-lock-registration abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d6/Lock-gray-alt-2.svg/9px-Lock-gray-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-subscription abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/aa/Lock-red-alt-2.svg/9px-Lock-red-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registrationcolor:#555.mw-parser-output .cs1-subscription span,.mw-parser-output .cs1-registration spanborder-bottom:1px dotted;cursor:help.mw-parser-output .cs1-hidden-errordisplay:none;font-size:100%.mw-parser-output .cs1-visible-errorfont-size:100%.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registration,.mw-parser-output .cs1-formatfont-size:95%.mw-parser-output .cs1-kern-left,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-leftpadding-left:0.2em.mw-parser-output .cs1-kern-right,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-rightpadding-right:0.2em


  3. "Macedonia and Greece: Deal after 27-year row over a name". BBC News. สืบค้นเมื่อ 12 June 2018.


  4. Μακεδονία, Henry George Liddell, Robert Scott, A Greek-English Lexicon, on Perseus


  5. Macedonia, Online Etymology Dictionary


  6. μακεδνός, Henry George Liddell, Robert Scott, A Greek-English Lexicon, on Perseus


  7. "Amnesty International – Summary – Macedonia". Web.amnesty.org. Archived from the original on 18 May 2011. Retrieved 6 June 2011.


  8. "101 facts about Macedonia". Faq.macedonia.org. Archived from the original on 6 June 2010. สืบค้นเมื่อ 28 April 2010.


  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง
    ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ stat.gov.mk



  10. "FIELD LISTING :: RELIGIONS". CIA.




แหล่งข้อมูลอื่น














  • เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ


  • Macedonia entry at The World Factbook


  • Macedonia from UCB Libraries GovPubs


  • ประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย ที่ดีมอซ


  • Macedonia from the BBC News


  • Wikimedia Atlas of the Republic of Macedonia


  • ประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย คู่มือการท่องเที่ยวจากวิกิเดินทาง (อังกฤษ)


  • Key Development Forecasts for the Republic of Macedonia from International Futures





































































ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ประเทศนอร์ทมาซิโดเนีย&oldid=8171558"





รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.652","walltime":"0.884","ppvisitednodes":"value":4668,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":192820,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":27414,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":12,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":8,"limit":500,"unstrip-depth":"value":1,"limit":20,"unstrip-size":"value":12696,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 561.107 1 -total"," 15.24% 85.488 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 14.70% 82.484 1 แม่แบบ:กล่องข้อมูล_ประเทศ"," 12.72% 71.350 1 แม่แบบ:Geographic_location"," 12.19% 68.376 3 แม่แบบ:Cite_web"," 9.50% 53.309 1 แม่แบบ:ลำดับเหตุการณ์ของยูโกสลาเวีย"," 7.25% 40.704 1 แม่แบบ:ความหมายอื่น"," 6.70% 37.586 1 แม่แบบ:Hatnote"," 6.33% 35.529 4 แม่แบบ:Country"," 5.72% 32.068 4 แม่แบบ:Country_flagcountry"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.099","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":3511221,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1299","timestamp":"20190316174746","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e1bu0e23u0e30u0e40u0e17u0e28u0e19u0e2du0e23u0e4cu0e17u0e21u0e32u0e0bu0e34u0e42u0e14u0e40u0e19u0e35u0e22","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q221","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q221","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-01-22T11:03:30Z","dateModified":"2019-03-15T12:27:54Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/7/79/Flag_of_North_Macedonia.svg","headline":"u0e2au0e32u0e18u0e32u0e23u0e13u0e23u0e31u0e10u0e43u0e19u0e22u0e38u0e42u0e23u0e1bu0e15u0e30u0e27u0e31u0e19u0e2du0e2du0e01u0e40u0e09u0e35u0e22u0e07u0e43u0e15u0e49"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":161,"wgHostname":"mw1272"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области