Skip to main content

พ.ศ. 2539 เนื้อหา ผู้นำ เหตุการณ์ วันเกิด วันถึงแก่กรรม รางวัล รายการเลือกการนำทางแก้

พ.ศ. 2539


ปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ปฏิทินเกรกอเรียน










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




พ.ศ. 2539




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา







ศตวรรษ:

  • 19

  • 20

  • 21


ปี:

  • 2536

  • 2537

  • 2538

  • 2539

  • 2540

  • 2541

  • 2542
































































1996 ในปฏิทินอื่น
ปฏิทินสุริยคติไทย2539
ปฏิทินเกรกอเรียน1996
MCMXCVI
Ab urbe condita2749
ปฏิทินอาร์เมเนีย1445
ԹՎ ՌՆԽԵ
ปฏิทินอัสซีเรีย6746
ปฏิทินบาไฮ152–153
ปฏิทินเบงกาลี1403
ปฏิทินเบอร์เบอร์2946
ปีในรัชกาลอังกฤษ44 Eliz. 2 – 45 Eliz. 2
พุทธศักราช2540
ปฏิทินพม่า1358
ปฏิทินไบแซนไทน์7504–7505
ปฏิทินจีน
乙亥年 (กุนธาตุไม้)
4692 หรือ 4632
    — ถึง —
丙子年 (ชวดธาตุไฟ)
4693 หรือ 4633
ปฏิทินคอปติก1712–1713
ปฏิทินดิสคอร์เดีย3162
ปฏิทินเอธิโอเปีย1988–1989
ปฏิทินฮีบรู5756–5757
ปฏิทินฮินดู
 - วิกรมสมวัต
2052–2053
 - ศกสมวัต
1918–1919
 - กลียุค
5097–5098
ปฏิทินโฮโลซีน11996
ปฏิทินอิกโบ996–997
ปฏิทินอิหร่าน1374–1375
ปฏิทินอิสลาม1416–1417
ปฏิทินญี่ปุ่น
ศักราชเฮเซ 8
(平成8年)
ปฏิทินจูเช85
ปฏิทินจูเลียนเกรกอเรียนลบ 13 วัน
ปฏิทินเกาหลี4329
ปฏิทินหมินกั๋ว
ROC 85
民國85年
เวลายูนิกซ์820454400–852076799

พุทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น


  • ปีชวด อัฐศก จุลศักราช 1358 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)


เนื้อหา





  • 1 ผู้นำ


  • 2 เหตุการณ์

    • 2.1 มกราคม


    • 2.2 กุมภาพันธ์


    • 2.3 มีนาคม


    • 2.4 พฤษภาคม


    • 2.5 มิถุนายน


    • 2.6 กรกฎาคม


    • 2.7 สิงหาคม


    • 2.8 ตุลาคม


    • 2.9 พฤศจิกายน


    • 2.10 ธันวาคม


    • 2.11 ไม่ทราบวัน



  • 3 วันเกิด


  • 4 วันถึงแก่กรรม


  • 5 รางวัล

    • 5.1 รางวัลโนเบล





ผู้นำ



  • พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489-13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)


  • นายกรัฐมนตรี

    • บรรหาร ศิลปอาชา (13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539)


    • พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540)


สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2539



เหตุการณ์



มกราคม



  • 8 มกราคม - สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน เสด็จพระราชดำเนินในพิธีปล่อยเรือหลวงจักรีนฤเบศรลงน้ำ ณ อู่เรือบาซาน เมืองเฟอร์รอล แคว้นกาลิเซีย ประเทศสเปน


  • 20 มกราคม - ขบวนการปาปัวอิสระลักพาตัวประกัน 26 คน ในบริเวณอุทยานลอเรนต้า


  • 31 มกราคม - สมาชิกกลุ่มพยัคฆ์ทมิฬอีแลมขว้างระเบิดใส่ธนาคารกลางในศรีลังกา มีผู้เสียชีวิต 90 คน


กุมภาพันธ์



  • 10 กุมภาพันธ์ – "ดีปบลู" คอมพิวเตอร์นักหมากรุก เอาชนะแกร์รี แคสพารอฟ นักหมากรุกรางวัลอินเตอร์แนชันแนลแกรนด์มาสเตอร์ และแชมป์โลกรายการเวิร์ลเชสส์แชมเปียนชิพ เป็นครั้งแรก


  • 16 กุมภาพันธ์ - กองกำลังปลดปล่อยแห่งชาติโคลัมเบียลักพาตัวประกันชาวสหรัฐ 6 คน


มีนาคม



  • 4 มีนาคม - เกิดระเบิดที่ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในกรุงเทลอาวีฟ อิสราเอล มีผู้เสียชีวิต 20 คน กลุ่มฮามาสออกมาอ้างความรับผิดชอบ


  • 10 มีนาคม - พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี


  • 23 มีนาคม – ลี เต็งฮุยได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งโดยตรงครั้งแรกของไต้หวัน


  • 1-2 มีนาคม – การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร


พฤษภาคม



  • 12 พฤษภาคม - นักศึกษาที่ประท้วงรัฐบาลซูฮาร์โตถูกยิงเสียชีวิต 6 คนที่มหาวิทยาลัยตรีสักติในกรุงจาการ์ตา ทำให้เกิดการจลาจลที่รุนแรงที่สุดในจาการ์ตาตามมา


  • 21 พฤษภาคม - ซูฮาร์โตประกาศลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีอินโดนีเซีย


มิถุนายน



  • 9 มิถุนายน - สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เสด็จพระราชดำเนินเยือน ราชอาณาจักรไทย พร้อมด้วย เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามี ใน พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช


  • 25 มิถุนายน - รถบรรทุกเชื้อเพลิงระเบิดที่เมืองโคบาร์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ทำให้ทหารสหรัฐเสียชีวิต 9 นาย


กรกฎาคม



  • 20 กรกฎาคม - เกิดเหตุระเบิดที่สนามบินนานาชาติทาร์ราโกนา ประเทศสเปน


  • 27 กรกฎาคม – เหตุระเบิดในเซนเทนเนียล โอลิมปิก ปาร์ค: เกิดระเบิดระหว่างการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในเมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา ทำให้มีผู้เสียชีวิต 2 คน บาดเจ็บ 111 คน


  • 28 กรกฎาคม – ผู้ชมการแข่งขันเรือเร็วประจำปีที่จัดขึ้นในแม่น้ำโคลัมเบีย พบมนุษย์เคนเนเวก ซากมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์โดยบังเอิญ ในเมืองเคนเนวิก รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา


สิงหาคม



  • 1 สิงหาคม - เกิดระเบิดบริเวณบ้านของอาร์คบิชอปชาวฝรั่งเศสในเมืองโอราน ประเทศแอลจีเรีย ทำให้อาร์คบิชอปและคนขับรถเสียชีวิต สันนิษฐานว่าเป็นฝีมือของกองกำลังติดอาวุธอิสลาม


  • 4 สิงหาคม – สมรักษ์ คำสิงห์ คว้าเหรียญทองมวยสากลสมัครเล่น รุ่นเฟเธอร์เวท ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา เป็นนักกีฬาคนแรกในไทยที่ได้เหรียญทองโอลิมปิก


  • 28 สิงหาคม – เจ้าฟ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงหย่าขาดจากเจ้าหญิงไดอาน่า


ตุลาคม



  • 1 ตุลาคม - เกิดการลอบสังหารกงสุลเกาหลีใต้ที่เมืองวลาดิวอสต็อก ประเทศรัสเซีย


  • 16 ตุลาคม – การเบียดเสียดกันของแฟนบอล 47,000 คน เพื่อเข้าชมฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก ระหว่างกัวเตมาลากับคอสตาริกาซึ่งจัดขึ้นที่สนามฟุตบอลขนาด 36,000 ที่นั่งในกัวเตมาลาซิตี ทำให้ผู้ชมบางส่วนตกจากอัฒจันทร์ และก่อให้เกิดความโกลาหล มีผู้เสียชีวิต 84 คน บาดเจ็บมากกว่า 180 คน


  • 28 ตุลาคม - สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พร้อมด้วย เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ เสด็จพระราชดำเนินเยือน ราชอาณาจักรไทย อย่างเป็นทางการในฐานะพระราชอะคันตุกะใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และถือเป็นครั้งแรกที่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จพระราชดำเนินเยือนเป็นครั้งที่ 2 ซึ่งไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์การเสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศของพระองค์


พฤศจิกายน



  • 7 พฤศจิกายน - องค์การนาซาส่งยานมาร์สโกลบัลเซอร์เวเยอร์ขึ้นสู่อวกาศ


  • 23 พฤศจิกายน – เครื่องบินโดยสารของสายการบินเอธิโอเปียตกใกล้กับประเทศคอโมโรสในมหาสมุทรอินเดีย หลังเกิดเหตุจี้เครื่องบิน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 127 คน


ธันวาคม



  • 3 ธันวาคม - เกิดเหตุระเบิดรถไฟใต้ดินในกรุงปารีส มีผู้เสียชีวิตหลายคนแต่ไม่มีกลุ่มใดออกมาอ้างความรับผิดชอบ


  • 13 ธันวาคม – โคฟี อันนัน ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการแห่งสหประชาชาติ


  • 26 ธันวาคม - อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทรายเริ่มมีผลบังคับใช้


ไม่ทราบวัน


  • ค้นพบธาตุโคเปอร์นิเซียม


  • สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท เสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเลโซโท


  • เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก ทรงหย่ากับ ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก ถึงจะทรงหย่าขาดแล้ว ซาราห์ยังคงสามารถใช้ยศ ดัชเชสแห่งยอร์ก ได้ แต่จะไม่มี เฮอร์รอยัลไฮเนส นำพระนาม


วันเกิด


ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2539


  • 4 มกราคม - ปริตา ไชยรักษ์ นักแสดงชาวไทย


  • 5 มกราคม - ญาณิกา ทองประยูร นักแสดงและพิธีกรชาวไทย


  • 9 มกราคม

    • ธีระธันญ์ ขจรชัยเดชาวัฒน์ นักแสดงชายชาวไทย


  • 15 มกราคม - ณวัสน์ ภู่พันธัชสีห์ - นักแสดงชายชาวไทย

    • ธารา ทิพา นักแสดงและนายแบบชาวไทย


  • 8 กุมภาพันธ์ - ภาลฎา ฐิตะวชิระ (สมาย) นักแสดงชาวไทย


  • 27 กุมภาพันธ์ - อังคณา วรรัตนาชัย (อ้อม) นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 4 มีนาคม - ธนนท์ จำเริญ (นนท์) นักร้องชาวไทย


  • 4 เมษายน - ออสติน มาโฮน นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน


  • 12 เมษายน - ณัฏฐณิชา ดังวัธนาวณิชย์ (ณิชา) นักแสดงชาวไทย


  • 2 พฤษภาคม - เฌอปราง อารีย์กุล นักร้องและกัปตันทีมวงบีเอ็นเคโฟร์ตีเอตชาวไทย


  • 5 พฤษภาคม - ณภัทร เสียงสมบุญ (นาย) นักแสดงชาย/นายแบบชาวไทย

  • 6 พฤษภาคม - จิรวรรณ ศรีสาวแห่ (ปอ,โอปอล์) นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย


  • 1 มิถุนายน - พงศธร ศรีปินตา นักแสดงชายชาวไทย


  • 4 มิถุนายน - เมลดา สุศรี (โบว์) นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 11 มิถุนายน - บัณฑิตา ศรีนวลนัด นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 28 มิถุนายน - สุมิตรา ดวงแก้ว (ฝ้าย) สมาชิกวง BNK48


  • 30 มิถุนายน - เบิ้ล ปทุมราช อาร์สยาม นักร้องชาวไทย


  • 18 กรกฎาคม - คริษฐา สังสะโอภาส นักแสดงชาวไทย


  • 21 กรกฎาคม - กัญญาวีร์ สองเมือง (ต้าเหนิง) นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 26 กรกฎาคม - มุกดา นรินทร์รักษ์ นักแสดง/นางแบบชาวไทย


  • 15 สิงหาคม - กฤษณภูมิ พิบูลสงคราม (เจเจ) นักแสดงชายชาวไทย


  • 21 สิงหาคม - เจนนี่ ฟิโลเมน่า นักแสดงชาวไทย


  • 3 กันยายน - กฤษณ์สิรี สุขสวัสดิ์ นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 28 กันยายน - จุฑารัตน์ อนุศิลป์ นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 1 ตุลาคม

    • Melanie Stokke นักเทนนิสหญิงชาวนอร์เวย์


    • มทิรา ตันติประสุต (แยม) นักแสดงหญิงชาวไทย



  • 9 ตุลาคม - วรนิษฐ์ ถาวรวงศ์ (มุก) นักร้อง/นักแสดงชาวไทย


  • 18 ตุลาคม - พัชญา เพียรเสมอ (พีพี) นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 21 ตุลาคม - คเลอร์ เฮห์ นักฟุตบอลชาวไทย


  • 10 พฤศจิกายน - รณิดา เตชสิทธิ์ (พรีม) นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 11 พฤศจิกายน

    • จันลูกา เกาดีโน นักฟุตบอลชาวเยอรมัน

    • มิลิน ดอกเทียน (น้ำหนึ่ง) สมาชิกวง BNK48



  • 18 พฤศจิกายน - นวพร จันทร์สุข (เค้ก) สมาชิกวง BNK48


  • 19 พฤศจิกายน –ธิติ มหาโยธารักษ์ (แบงค์) นักแสดงชายชาวไทย


  • 8 ธันวาคม - จักริน ภูริพัฒน์ นักแสดงชาวไทย


  • 11 ธันวาคม - กันต์ธีร์ ปิติธัญ (ซีดี) นักร้องชาวไทย


  • 18 ธันวาคม - อิสราภา ธวัชภักดี (ตาหวาน) สมาชิกวง BNK48


  • 29 ธันวาคม - ดีแลน มินเน็ตต์ นักแสดงและนักดนตรีชาวอเมริกัน


วันถึงแก่กรรม


ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2539


  • 14 มกราคม - ธรรมนูญ ทัศโน นักดนตรีชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2510)


  • 15 มกราคม - หลวงพ่อเกษม เขมโก พระสงฆ์ชาวไทย (เกิด 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455)


  • 1 กุมภาพันธ์ - ชนะ ศรีอุบล นักแสดงชาวไทย (เกิด 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2475)


  • 21 กุมภาพันธ์ - กำพล วัชรพล นักหนังสือพิมพ์ชาวไทย (เกิด 27 ธันวาคม พ.ศ. 2462)


  • 11 เมษายน - แสงชัย สุนทรวัฒน์ อดีตผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (เกิด 12 มิถุนายน พ.ศ. 2486)


  • 2 มิถุนายน - ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ นักการเมืองชาวไทย (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2474 )


  • 15 มิถุนายน - เอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์ นักร้องเพลงแจ๊สชาวอเมริกัน (เกิด 25 เมษายน พ.ศ. 2460)


  • 29 มิถุนายน - จีรุตม์ ณ นคร นักแสดง นักร้อง นายแบบ ชาวไทย(เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2513)


  • 10 กันยายน - ละติฟา อัลซัยยัต นักเขียนชาวอียิปต์ (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2466)


  • 13 กันยายน - ทูแพ็ก ชาเคอร์ แร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2514)


  • 20 กันยายน - พอล แอร์ดิช นักคณิตศาสตร์ชาวฮังการี (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2456)


  • 23 กันยายน - ฟูจิโกะ เอฟ. ฟูจิโอะ นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น (เกิด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2476)


  • 27 ตุลาคม - เรวัต พุทธินันทน์ นักร้อง นักดนตรี โปรดิวเซอร์ (เกิด 5 กันยายน พ.ศ. 2491)


  • 3 พฤศจิกายน - ฌ็อง-เบแดล บอกาซา จักรพรรดิ (เกิด 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2464)


  • 20 ธันวาคม - คาร์ล เซแกน นักดาราศาสตร์และนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477)


รางวัล



รางวัลโนเบล



  • สาขาเคมี – Robert Curl, Sir Harold Kroto, Richard Smalley


  • สาขาวรรณกรรม – วิสวาวา ซิมบอร์สกา


  • สาขาสันติภาพ – การ์ลอส ฟิลิปเป ซิเมเนส เบโล, โคเซ รามอส ออร์ตา


  • สาขาฟิสิกส์ – David Morris Lee, Douglas D. Osheroff, Robert Coleman Richardson


  • สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ปีเตอร์ โดเฮอร์ที, โรล์ฟ เอ็ม. ซิงเคอร์นาเกล


  • สาขาเศรษฐศาสตร์ – James A. Mirrlees, William Vickrey




ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=พ.ศ._2539&oldid=8185584"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.152","walltime":"0.199","ppvisitednodes":"value":414,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":14120,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":112,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":5,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":0,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 94.551 1 -total"," 82.57% 78.072 1 แม่แบบ:กล่องรวมปี"," 78.02% 73.767 1 แม่แบบ:ปีในปฏิทินอื่น"," 16.92% 15.995 2 แม่แบบ:Further"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.043","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1377420,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1265","timestamp":"20190327105721","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e1e.u0e28. 2539","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2539","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q2070","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q2070","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-08-04T11:19:10Z","dateModified":"2019-03-22T11:23:45Z","headline":"u0e1bu0e35"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":150,"wgHostname":"mw1322"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области