Skip to main content

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) เนื้อหา ชาติภูมิ บรรพชาและอุปสมบท วิทยฐานะ หน้าที่การงาน งานการศึกษา สมณศักดิ์ มรณภาพ แหล่งข้อมูลอื่น อ้างอิง รายการเลือกการนำทางเว็บไซต์วัดสามพระยาแจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกกรมธรรมการ เรื่อง ตั้งเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดสามพระยาประกาศ ตั้งคณะสังฆมนตรีแจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 2481แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 2491แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 2500พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมณศักดิ์พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมณศักดิ์ (พระธรรมปัญญาบดี เป็นสมเด็จพระราชาคณะ , พระพรหมมุนี เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ประกาศ ณ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘)

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2448บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2539สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกายอดีตกรรมการมหาเถรสมาคมสังฆมนตรีว่าการองค์การศึกษาเจ้าคณะใหญ่หนกลางเจ้าคณะจังหวัดพระนครเจ้าอาวาสวัดสามพระยาแม่กองบาลีสนามหลวงเปรียญธรรม 9 ประโยคบุคคลจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


สมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่หนกลางมหาเถรสมาคมแม่กองบาลีสนามหลวงวัดสามพระยา20 มีนาคมพ.ศ. 2448อำเภอนครหลวงจังหวัดพระนครศรีอยุธยาพระธรรมดิลก (ขาว เขมโก)ภาวะออกซิเจนในเส้นเลือดต่ำผิดปกติโรงพยาบาลศิริราช










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา






















สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(ฟื้น ชุตินฺธโร)

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น) 0001.jpg
เกิด20 มีนาคม พ.ศ. 2448
มรณภาพ
16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539
อายุ
700190000000000000090 ปี 7002333000000000000333 วัน
อุปสมบท
20 มิถุนายน พ.ศ. 2469
พรรษา69
วัด
วัดสามพระยา
ท้องที่
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
สังกัด
มหานิกาย
วุฒิการศึกษา
เปรียญธรรม 9 ประโยค
นักธรรมชั้นเอก
ตำแหน่ง
ทางคณะสงฆ์
อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม
อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง
อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง
อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฟื้น พลายภู่ ฉายา ชุตินฺธโร (20 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง และอดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา




เนื้อหา





  • 1 ชาติภูมิ


  • 2 บรรพชาและอุปสมบท

    • 2.1 บรรพชา


    • 2.2 อุปสมบท



  • 3 วิทยฐานะ


  • 4 หน้าที่การงาน

    • 4.1 ด้านการปกครอง



  • 5 งานการศึกษา


  • 6 สมณศักดิ์


  • 7 มรณภาพ


  • 8 แหล่งข้อมูลอื่น


  • 9 อ้างอิง




ชาติภูมิ


สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิมว่า ฟื้น พลายภู่ เกิดเมื่อวันอังคารที่ 3 แรม 11 ค่ำ เดือน 4 ปีมะเส็ง เวลา 07.30 น. ตรงกับวันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2448 ที่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านคลองสะแก ตำบลคลองสะแก อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นบุตรของนายฟุ้ง พรายภู่ และนางกัง พรายภู่



บรรพชาและอุปสมบท



บรรพชา


สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ 17 ปี เมื่อ พ.ศ. 2465 ปีจอ ณ พัทธสีมาวัดสามพระยา ตำบลวัดสามพระยา อำเภอพระนคร จังหวัดพระนคร โดยมีพระธรรมดิลก (ขาว เขมโก) ครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็นพระสุธรรมธีรคุณ เจ้าอาวาสวัดสามพระยา เป็นพระอุปัชฌาย์



อุปสมบท


สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2469 ณ พัทธสีมาวัดสามพระยา ตำบลวัดสามพระยา อำเภอพระนคร จังหวัพระนคร โดยมี พระธรรมดิลก (ขาว เขมโก) ครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป็น พระสุธรรมธีรคุณ เจ้าอาวาสวัดสามพระยา เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูปลัดผาด เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระมหาสละ เป็นพระอนุสาวนาจารย์



วิทยฐานะ



  • พ.ศ. 2465 - สอบได้นักธรรมชั้นตรี สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2466 - สอบได้นักธรรมชั้นโท สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัพระนคร


  • พ.ศ. 2467 - สอบได้นักธรรมชั้นเอก สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2469 - สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2470 - สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2471 - สอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2472 - สอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2473 - สอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2479 - สอบได้เปรียญธรรม 8 ประโยค สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


  • พ.ศ. 2480 - สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค สำนักเรียนวัดสามพระยา จังหวัดพระนคร


หน้าที่การงาน



ด้านการปกครอง


  • พ.ศ. 2481
    • เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสามพระยา

    • เป็นเจ้าอาวาสวัดสามพระยา[1]

    • เป็นเจ้าคณะหมวดบางขุนพรหม แขวงกลาง จังหวัดพระนคร

    • เป็นรองเจ้าคณะมณฑลพิษณุโลก

    • เป็นผู้ทำการแทนเจ้าคณะมณฑลพิษณุโลก


  • พ.ศ. 2482
    • เป็นเจ้าคณะมณฑลเหนือ

    • เป็นเจ้าคณะอำเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี


  • พ.ศ. 2484
    • เป็นสมาชิกสังฆสภา

    • เป็นหัวหน้าพระธรรมธร


  • พ.ศ. 2501 เป็นคณะกรรมการพิจารณาข้อบกพร่องของพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484

  • พ.ศ. 2502 เป็นคณะกรรมการพิจารณาแก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน ข้อบกพร่องของพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484

  • พ.ศ. 2503
    • เป็นสังฆมนตรีว่าการองค์การศึกษา[2]

    • เป็นคณะกรรมการสังฆาณัติระเบียบพระคณาธิการ (ก.ส.พ.)

    • เป็นคณะกรรมการดำเนินการสร้างธรรมสภา


  • พ.ศ. 2504
    • เป็นคณะกรรมการอำนวยการตั้งโรงเรียนพระคณาธิการ

    • เป็นคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุง แก้ไข สังฆาณัติ ระเบียบพระคณาธิการ พ.ศ. 2486

    • เป็นคณะกรรมการยกร่างหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี


  • พ.ศ. 2485 - 2516 เป็นเจ้าคณะจังหวัดพระนคร

  • พ.ศ. 2506 - 2513 เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม

  • พ.ศ. 2506
    • เป็นคณะอนุกรรมการร่างกฎมหาเถรสมาคม ว่าด้วยระเบียบการประชุมมหาเถรสมาคม

    • เป็นคณะอนุกรรมการร่างกฎมหาเถรสมาคม ว่าด้วยการกำหนดหน้าที่ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2506

    • เป็นคณะอนุกรรมการพิจารณาร่างกฎมหาเถรสมาคม ว่าด้วยเขตและอำนาจหน้าที่ในการปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค


  • พ.ศ. 2507
    • เป็นประธานอนุกรรมการพิจารณาร่างระเบียบการเดินทางไปต่างประเทศของพระภิกษุสามเณร (ศ.ต.ภ.)

    • เป็นประธานอนุกรรมการพิจารณาศาสนสมบัติกลางประจำ (พ.ส.ป.)


  • พ.ศ. 2507 - 2508 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะภาค 1 - 18

  • พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2539 ไดัรับพระบัญชาแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าคณะใหญ่หนกลาง


งานการศึกษา


  • พ.ศ. 2470 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี สำนักเรียนวัดสามพระยา

  • พ.ศ. 2473 เป็นกรรมการตรวจธรรมสนามหลวง

  • พ.ศ. 2480 เป็นกรรมการตรวจบาลีสนามหลวง

  • พ.ศ. 2489 เป็นผู้อำนวยการสำนักอบรมสงฆ์ (ส.อ.ส)วัดสามพระยา

  • พ.ศ. 2495 เป็นผู้อำนวยการสภาการศึกษาแห่ง ส.อ.ส

  • พ.ศ. 2503 เป็นแม่กองบาลีสนามหลวง


สมณศักดิ์


  • พ.ศ. 2481 รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระปริยัติโศภน[3]

  • พ.ศ. 2491 รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพเวที[4]

  • พ.ศ. 2500 รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมคุณาภรณ์[5]

  • พ.ศ. 2506 รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะที่ พระธรรมปัญญาบดี ศรีวิสุทธิคุณ วิบุลปรีชาญาณนายก ตรีปิฎกคุณาลังการวิภูสิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[6]

  • พ.ศ. 2518 รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณอดุลสุนทรนายก ตรีปิฎกปฏิภาณพิเศษ สุตตันตประเภทโกศล วิมลมหันตคณาทร มหาคณิสสรบวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี[7]


มรณภาพ


สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) ได้ถึงแก่มรณภาพด้วยภาวะออกซิเจนในเส้นเลือดต่ำผิดปกติ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน พ.ศ. 2539 เวลา 09:19 น. ณ โรงพยาบาลศิริราช สิริรวมอายุได้ 700190000000000000090 ปี 7002333000000000000333 วัน พรรษา 69



แหล่งข้อมูลอื่น


  • เว็บไซต์วัดสามพระยา


อ้างอิง




  1. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกกรมธรรมการ เรื่อง ตั้งเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดสามพระยา, เล่ม 55, ตอน 0 ง, 23 พฤษภาคม 2481, หน้า 408


  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ ตั้งคณะสังฆมนตรี, เล่ม 77, ตอน 41 ง, 17 พฤษภาคม 2503, หน้า 1438


  3. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 2481


  4. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 2491


  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ 2500


  6. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 80, ตอน 122 ฉบับพิเศษ, 27 ธันวาคม 2506, หน้า 12-15


  7. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมณศักดิ์ (พระธรรมปัญญาบดี เป็นสมเด็จพระราชาคณะ , พระพรหมมุนี เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ประกาศ ณ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘)



















ก่อนหน้า

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)

ถัดไป

สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)
รักษาการเจ้าคณะใหญ่หนกลาง

2leftarrow.png
Dharmacakra flag (Thailand).svg
เจ้าคณะใหญ่หนกลาง
(พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2539)
2rightarrow.png
สมเด็จพระมหาธีราจารย์
(นิยม ฐานิสฺสโร)


สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช
(ปลด กิตฺติโสภโณ)

2leftarrow.png
ตราบาลี.gif
แม่กองบาลีสนามหลวง
(พ.ศ. 2503 - พ.ศ. 2531)
2rightarrow.png
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์
(สุวรรณ สุวณฺณโชโต)










ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์_(ฟื้น_ชุตินฺธโร)&oldid=7355357"










รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.172","walltime":"0.215","ppvisitednodes":"value":1328,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":11205,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":5331,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":20,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":4466,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 138.224 1 -total"," 33.34% 46.079 1 แม่แบบ:กล่องข้อมูล_พระสงฆ์ไทย"," 26.72% 36.933 2 แม่แบบ:อายุปีและวัน"," 26.14% 36.126 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 20.18% 27.898 4 แม่แบบ:Nts"," 13.26% 18.331 2 แม่แบบ:อายุปีและวัน/วัน"," 11.09% 15.330 2 แม่แบบ:อายุปีและวัน/ปี"," 8.91% 12.321 2 แม่แบบ:Age_in_days"," 7.55% 10.436 2 แม่แบบ:สืบตำแหน่ง"," 7.01% 9.693 4 แม่แบบ:Gregorian_serial_date"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.005","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":537251,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1279","timestamp":"20190320102556","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e2au0e21u0e40u0e14u0e47u0e08u0e1eu0e23u0e30u0e1eu0e38u0e17u0e18u0e42u0e06u0e29u0e32u0e08u0e32u0e23u0e22u0e4c (u0e1fu0e37u0e49u0e19 u0e0au0e38u0e15u0e34u0e19u0e3au0e18u0e42u0e23)","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%86%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C_(%E0%B8%9F%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99_%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%BA%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%A3)","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q13022234","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q13022234","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2012-09-27T02:26:42Z","dateModified":"2017-12-16T16:53:06Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/7/7a/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%82%E0%B8%86%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C_%28%E0%B8%9F%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%29_0001.jpg"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":140,"wgHostname":"mw1264"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области