Skip to main content

พ.ศ. 2519 เนื้อหา ผู้นำ เหตุการณ์ วันเกิด วันถึงแก่กรรม วัฒนธรรมสมัยนิยมที่อ้างอิงถึงปีนี้ รางวัล อ้างอิง รายการเลือกการนำทางแก้เพิ่มข้อมูล

พ.ศ. 2519บทความเกี่ยวกับ วันเดือนปี ที่ยังไม่สมบูรณ์


ปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีปฏิทินเกรกอเรียนสืบราชบัลลังก์แห่งสวีเดน










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




พ.ศ. 2519




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา







ศตวรรษ:

  • 19

  • 20

  • 21


ปี:

  • 2516

  • 2517

  • 2518

  • 2519

  • 2520

  • 2521

  • 2522
































































1976 ในปฏิทินอื่น
ปฏิทินสุริยคติไทย2519
ปฏิทินเกรกอเรียน1976
MCMLXXVI
Ab urbe condita2729
ปฏิทินอาร์เมเนีย1425
ԹՎ ՌՆԻԵ
ปฏิทินอัสซีเรีย6726
ปฏิทินบาไฮ132–133
ปฏิทินเบงกาลี1383
ปฏิทินเบอร์เบอร์2926
ปีในรัชกาลอังกฤษ24 Eliz. 2 – 25 Eliz. 2
พุทธศักราช2520
ปฏิทินพม่า1338
ปฏิทินไบแซนไทน์7484–7485
ปฏิทินจีน
乙卯年 (เถาะธาตุไม้)
4672 หรือ 4612
    — ถึง —
丙辰年 (มะโรงธาตุไฟ)
4673 หรือ 4613
ปฏิทินคอปติก1692–1693
ปฏิทินดิสคอร์เดีย3142
ปฏิทินเอธิโอเปีย1968–1969
ปฏิทินฮีบรู5736–5737
ปฏิทินฮินดู
 - วิกรมสมวัต
2032–2033
 - ศกสมวัต
1898–1899
 - กลียุค
5077–5078
ปฏิทินโฮโลซีน11976
ปฏิทินอิกโบ976–977
ปฏิทินอิหร่าน1354–1355
ปฏิทินอิสลาม1395–1397
ปฏิทินญี่ปุ่น
ศักราชโชวะ 51
(昭和51年)
ปฏิทินจูเช65
ปฏิทินจูเลียนเกรกอเรียนลบ 13 วัน
ปฏิทินเกาหลี4309
ปฏิทินหมินกั๋ว
ROC 65
民國65年
เวลายูนิกซ์189302400–220924799

พุทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น


  • ปีมะโรง อัฐศก จุลศักราช 1338 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)


เนื้อหา





  • 1 ผู้นำ


  • 2 เหตุการณ์

    • 2.1 ไม่ทราบวัน



  • 3 วันเกิด


  • 4 วันถึงแก่กรรม


  • 5 วัฒนธรรมสมัยนิยมที่อ้างอิงถึงปีนี้

    • 5.1 ภาพยนตร์



  • 6 รางวัล

    • 6.1 รางวัลโนเบล



  • 7 อ้างอิง




ผู้นำ



  • พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489-2559)


  • นายกรัฐมนตรี

    • ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช (พ.ศ. 2518-2519)


    • ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช (พ.ศ. 2519)


    • นายธานินทร์ กรัยวิเชียร (พ.ศ. 2519-2520)



เหตุการณ์



  • 29 มกราคม - สวนสนุก แดนเนรมิต เปิดให้บริการเป็นวันแรก สร้างประวัติศาสตร์ การเที่ยวชมของผู้คน ในวันนั้นวันเดียว กว่า 80,000 คน


  • 14 มีนาคม – ทีมฟุตบอลทีมชาติโมร็อกโกชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 10 ณ ประเทศเอธิโอเปีย


  • 24 มีนาคม – กำลังทหารของอาร์เจนตินาก่อรัฐประหาร ขับประธานาธิบดีอิสซาเบล เปรอง ออกจากตำแหน่ง


  • 4 เมษายน – เขมรแดงจับกุมและบังคับให้เจ้านโรดม สีหนุ ลงจากตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ


  • 13 มิถุนายน – ทีมฟุตบอลทีมชาติอิหร่านชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ครั้งที่ 6 ณ กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน


  • 19 มิถุนายน- พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่าง สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน กับ นางสาวซิลเวีย เรนาเทอ ซอมแมร์ลัธ ภายหลังการอภิเษกสมรสแล้ว ซิลเวียได้รับประสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน ทรงพระปรมภิไธยว่า สมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน ปัจจุบันทั้ง 2 มีพระราชโอรส-ธิดารวม 3 พระองค์ ได้เก่
    • เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน

    • เจ้าชายคาร์ล ฟิลิป ดยุกแห่งแวร์มลันด์


    • เจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์่


อนึ่ง การที่พระองค์อภิเษกสมรสหลังจากขึ้นครองราชย์แล้ว ก็เพื่อมิให้เสียสิทธิในการสืบราชบัลลังก์แห่งสวีเดน



  • 22 มิถุนายน – สภาผู้แทนราษฎรแคนาดาลงมติยกเลิกโทษประหารชีวิต


  • 27 มิถุนายน - สมาชิกแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์จี้เครื่องบินโดยสารแอร์ฟรานซ์ให้ไปที่ยูกันดา แต่ทางอิสราเอลเข้าช่วยเหลือผู้โดยสารสำเร็จ


  • 2 กรกฎาคม – เวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ผนวกกันเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม


  • 3 กรกฎาคม – หน่วยคอมมานโดของประเทศอิสราเอลบุกเข้าช่วยเหลือตัวประกันทั้ง 105 คนที่ถูกจับกุมตัวไว้ที่ประเทศยูกันดา


  • 20 กรกฎาคม – ยานไวกิง 1 เป็นยานอวกาศลำแรกที่ประสบความสำเร็จ ในการลงจอดบนพื้นผิวดาวอังคาร


  • 28 กรกฎาคม – เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8-8.2 ใน เมืองต่งซาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 242,769 คน บาดเจ็บ 164,851 คน


  • 31 กรกฎาคม – องค์การนาซาเผยแพร่ภาพ ใบหน้าบนดาวอังคาร ที่บันทึกโดยยานไวกิง 1


  • 7 สิงหาคม – โครงการไวกิง: ยานไวกิง 2 เข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคาร


  • 3 กันยายน – ยานไวกิง 2 ลงจอดบนดาวอังคารและถ่ายภาพสีของพื้นผิวดาวเคราะห์ดวงนี้ในระยะใกล้เป็นภาพแรก


  • 17 กันยายน – องค์การนาซาเผยข้อมูลกระสวยอวกาศเอ็นเตอร์ไพรซ์ กระสวยอวกาศลำแรก ที่เมืองปาล์มเดล รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา


  • 6 ตุลาคม – เหตุการณ์ 6 ตุลา: ตำรวจและกองกำลังติดอาวุธเคลื่อนเข้าปิดล้อมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนักศึกษาและประชาชนหลายพันคนร่วมชุมนุมประท้วงการกลับเข้ามาของจอมพลถนอม กิตติขจร ที่ถูกประชาชนลุกฮือขับไล่ออกจากประเทศเมื่อ 3 ปีก่อน. โดยทางการกล่าวหาว่าผู้ชุมนุมหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ. ตกเย็น คณะทหารนำโดย พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ ประกาศรัฐประหาร ยึดอำนาจรัฐบาลที่มี ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี


  • 29 ตุลาคม - แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์เป็นนักมวยสากลชาวไทยคนแรกที่ชิงแชมป์โลกได้ในต่างแดนเมื่อชิงแชมป์โลกรุ่นไลท์เวลเตอร์เวท WBC ชนะน็อค มิเกล มาร์ติเนซ ยก 2 ที่ สเปน ในวันนี้


  • 4 ธันวาคม - ฮะซัน ติโร แถลงคำประกาศเอกราชของอาเจะห์เป็นภาษาอาเจะห์และภาษาอังกฤษในนามขบวนการอาเจะห์เอกราชแต่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐบาลอินโดนีเซีย


  • 7 ธันวาคม - พิธีอภิเษกสมรสระหว่างเจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ กับ นางสาว ลิเลียน เมย์ เดวิส์ ภายหลังการเสกสมรสแล้ว ลิเลียนได้รับการสถาปนาเป็น ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ ตามพระสวามี และมีพระนามว่า เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์


ไม่ทราบวัน



  • กรมทรัพยากรธรณีขุดพบไดโนเสาร์ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก

  • พิธีเปิดถนนรัชดาภิเษก


วันเกิด



  • 1 มกราคม - รัฐศาสตร์ กรสูต นักร้อง นักแสดง นักดนตรีชาวไทย


  • 7 มกราคม - วิค ดาร์ชิเนียน แชมป์โลกมวยสากลชาวออสเตรเลีย


  • 10 มกราคม - ปนัดดา วงศ์ผู้ดี นักแสดง นางแบบ พิธีกรชาวไทย


  • 27 มกราคม - หลินซินหยู นักแสดงหญิงชาวไต้หวัน


  • 1 กุมภาพันธ์ – ปรางค์วลัย เทพสาธร นักแสดงชาวไทย


  • 2 กุมภาพันธ์ – ภูวนาท คุนผลิน นักร้อง นักจัดรายการวิทยุ พิธีกรชาวไทย


  • 5 กุมภาพันธ์ – ทัชชกร ยีรัมย์ นักแสดงศิลปะการต่อสู้ชาวไทย


  • 6 กุมภาพันธ์ - เจ้าหญิงมารีแห่งเดนมาร์ก พระชายาพระองค์ที่ 2 ในเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก


  • 8 กุมภาพันธ์ – จตุรวิทย์ คชน่วม นักแสดง ตำรวจชาวไทย


  • 13 กุมภาพันธ์ - สุพจน์ จันทร์เจริญ นักร้อง นักแสดงชาวไทย


  • 14 กุมภาพันธ์ - แช่ม แช่มรัมย์ นักร้อง นักแสดงชายชาวไทย


  • 4 มีนาคม - กรุณพล เทียนสุวรรณ นักแสดงชาวไทย


  • 20 มีนาคม – เชสเตอร์ เบนนิงตัน นักตนตรีชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560)


  • 29 มีนาคม - อัลเบิร์ท เดมอน นักร้องชาวไทย


  • 1 เมษายน – พุฒิพงศ์ ศรีวัฒน์ นักแสดง นักร้อง พิธีกรชายชาวไทย


  • 9 เมษายน – ดอม เหตระกูล นักแสดง พิธีกร นายแบบชาวไทย


  • 17 พฤษภาคม - หวังลี่หง นักแต่งเพลงชาวไต้หวัน


  • 19 พฤษภาคม – เควิน การ์เน็ตต์ นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน


  • 30 พฤษภาคม - กุลณัฐ กุลปรียาวัฒน์ นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 31 พฤษภาคม – คอลิน ฟาร์เรล นักแสดงชาวอเมริกัน


  • 2 มิถุนายน - สมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ สมเด็จพระราชินีแห่งประเทศเลโซโท


  • 10 มิถุนายน - เจ้าชายกียอร์ก ฟริดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย


  • 19 มิถุนายน - เคน เฮอริเคน นักแสดง นักร้อง


  • 21 มิถุนายน - เซเลสติโน คาบัลเลโร แชมป์โลกมวยสากลชาวปานามา


  • 1 กรกฎาคม -

    • รุด ฟาน นิสเตลรอย นักฟุตบอลชาวเนเธอร์แลนด์


    • แพทริก ไคลเวิร์ต นักฟุตบอลชาวเนเธอร์แลนด์



  • 16 กรกฎาคม – ภูธเนศ หงษ์มานพ นักร้อง นักแสดง พิธีกรชาวไทย


  • 19 กรกฎาคม - เบนิดิคต์ คัมเบอร์แบชต์ นักแสดงชาวอังกฤษ


  • 22 กรกฎาคม - จ๊อบ & จอย ลำใย น้อยหอม (จอย) นักร้องลูกทุ่งชาวไทย


  • 31 กรกฎาคม – ศิริพิชญ์ วิมลโนช นักแสดงชาวไทย


  • 3 สิงหาคม – ชาตโยดม หิรัณยัษฐิติ นักแสดงชาวไทย


  • 28 กรกฎาคม - จารุศิริ ภูวนัย นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 14 สิงหาคม – นุศรา ประวันณา นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 16 สิงหาคม - ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี นักแสดง นักร้องชาวไทย


  • 19 สิงหาคม - เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต แชมป์ PABA


  • 21 สิงหาคม - เกียรติศักดิ์ รามวงษ์ (กบ ชิงร้อย) นักแสดงตลกชื่อดัง


  • 4 กันยายน – แคทรียา อิงลิช นักร้อง นักแสดงชาวไทย

  • 6 กันยายน - เจ้าชายโรเบิร์ต เคานต์แห่งลามาร์เค


  • 10 กันยายน -

    • กุสตาโว เคอร์เทน นักเทนนิสชาวบราซิล


    • หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล ผู้ประกาศข่าว พิธีกร



  • 22 กันยายน – โรนัลโด นักฟุตบอลชาวบราซิล


  • 24 กันยายน – สุกิจ ลิขิตบรรณกร นักออกแบบ


  • 1 ตุลาคม - เจ้าหญิงหิมานี มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล อดีตมกุฎราชกุมารีหลังจากประเทศเนปาลเปลี่ยนแปลงการปกครอง


  • 2 ตุลาคม - สราวุธ มาตรทอง นักแสดงชาวไทย


  • 3 ตุลาคม – ฌอนน์ วิลเลียม สกอตต์ นักแสดงชาวอเมริกัน


  • 4 ตุลาคม – อลิเซีย ซิลเวอร์สโตน นักแสดงชาวอเมริกัน


  • 5 ตุลาคม -

    • ชลิตา เฟื่องอารมณ์ นักแสดงหญิงชาวไทย


    • ซง ซึงฮย็อน นักแสดงชาวเกาหลีใต้



  • 14 ตุลาคม – ศิววงศ์ ปิยะเกศิน นักร้อง นักแสดงชาวไทย


  • 22 ตุลาคม - ฝันดี-ฝันเด่น นักร้องคู่แฝดบอยแบนด์ชาวไทย


  • 1 พฤศจิกายน –
    • ออสการ์ ลาริออส แชมป์โลกมวยสากลชาวเม็กซิโก


    • แอน ทองประสม นักแสดงชาวไทย



  • 2 พฤศจิกายน - วุฒิสิทธิ์ สืบสุวรรณ นักร้อง นักแสดง นักดนตรีชาวไทย


  • 11 พฤศจิกายน - สโรชา พรอุดมศักดิ์ พิธีกรชาวไทย


  • 26 พฤศจิกายน - ธัญญาเรศ เองตระกูล นักร้อง นางแบบ พิธีกรชาวไทย


  • 10 ธันวาคม – ธนา สุทธิกมล นักร้อง นักแสดงชาวไทย


  • 12 ธันวาคม – รชยา รักกสิกรณ์ นักแสดงหญิงชาวไทย


  • 13 ธันวาคม - วันมีโชค สิงห์วังชา แชมป์ OPBF


  • 16 ธันวาคม - โอซามุ ซาโตะ แชมป์โลกมวยสากลชาวญี่ปุ่น


  • 24 ธันวาคม - อัสมา กฮาร์ นักร้อง นักแสดงชาวไทย


วันถึงแก่กรรม



  • 6 มกราคม - พรานบูรณ์ หรือจวงจันทร์ จันทร์คณา คีตกวีชาวไทย (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2444)


  • 8 มกราคม – โจว เอินไหล นายกรัฐมนตรีคนแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน (เกิด 5 มีนาคม พ.ศ. 2441)


  • 12 มกราคม – อกาทา คริสตี นักประพันธ์ชาวอังกฤษ (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2433)


  • 1 กุมภาพันธ์ – เวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน (เกิด 5 ธันวาคม พ.ศ. 2444)


  • 26 พฤษภาคม – มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ นักปรัชญาชาวเยอรมัน (เกิด 26 กันยายน พ.ศ. 2432)


  • 25 มิถุนายน – จอห์นนี่ เมอเซอร์ นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452)


  • 5 กันยายน – พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์


  • 9 กันยายน – เหมาเจ๋อตุง ผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีน (เกิด 26 ธันวาคม พ.ศ. 2436)


วัฒนธรรมสมัยนิยมที่อ้างอิงถึงปีนี้



ภาพยนตร์



  • โกสท์เกม ล่า-ท้า-ผี – มีเนื้อเรื่องบางส่วนที่อ้างอิงเหตุการณ์ปฏิวัติเขมรแดงที่เกิดขึ้นในปีนี้


  • มหาลัยสยองขวัญ ตอน ลิฟต์แดง (บรรจง สินธนมงคลกุล และสุทธิพร ทับทิม, พ.ศ. 2552) นำเหตุการณ์ปราบปรามนักศึกษาและประชาชนบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคมที่เกิดขึ้นในปีนี้มาเล่าเรื่องควบคู่กับตำนานลี้ลับเกี่ยวกับลิฟต์แดงที่อยู่ในมหาวิทยาลัยดังกล่าว


  • River of Exploding Durians (เอ็ดมันด์ โหย่ว, พ.ศ. 2557) ภาพยนตร์มาเลเซียที่นำเอาเหตุการณ์ 6 ตุลาคมที่เกิดขึ้นในปีนี้ในประเทศไทย มาเล่าซ้ำผ่านตัวละครในฐานะประสบการณ์ร่วมของการต่อสู้ทางการเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<ref name="คนมองหนัง">[https: konmongnangetc.com 2016 10 05 %E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%96%E0%B8%B6 "รวมรายชื่อหนังที่พูดถึงเหตุการณ์ '6 ตุลา' (แบบคร่าวๆ) และลำดับเวลาออกฉาย"] Check |url= value (help). คนมองหนัง. 6 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2559..mw-parser-output cite.citationfont-style:inherit.mw-parser-output qquotes:"""""""'""'".mw-parser-output code.cs1-codecolor:inherit;background:inherit;border:inherit;padding:inherit.mw-parser-output .cs1-lock-free abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/65/Lock-green.svg/9px-Lock-green.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-limited a,.mw-parser-output .cs1-lock-registration abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d6/Lock-gray-alt-2.svg/9px-Lock-gray-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-subscription abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/aa/Lock-red-alt-2.svg/9px-Lock-red-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registrationcolor:#555.mw-parser-output .cs1-subscription span,.mw-parser-output .cs1-registration spanborder-bottom:1px dotted;cursor:help.mw-parser-output .cs1-hidden-errordisplay:none;font-size:100%.mw-parser-output .cs1-visible-errorfont-size:100%.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registration,.mw-parser-output .cs1-formatfont-size:95%.mw-parser-output .cs1-kern-left,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-leftpadding-left:0.2em.mw-parser-output .cs1-kern-right,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-rightpadding-right:0.2em< ref>


  • ดาวคะนอง (อโนชา สุวิชากรพงศ์, พ.ศ. 2559) เล่าถึงความทรงจำจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคมที่เกิดขึ้นในปีนี้<ref name="คนมองหนัง" >


รางวัล



รางวัลโนเบล



  • สาขาเคมี – William Lipscomb


  • สาขาวรรณกรรม – ซอล เบลโล


  • สาขาสันติภาพ – Betty Williams, Mairead Corrigan


  • สาขาฟิสิกส์ – Burton Richter, Samuel Chao Chung Ting


  • สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – บารุค เอส. บลุมเบิร์ก, แดเนียล คาร์เลตัน กาชดูเซค


  • สาขาเศรษฐศาสตร์ – มิลตัน ฟรีดแมน


อ้างอิง













ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=พ.ศ._2519&oldid=8126828"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.224","walltime":"0.302","ppvisitednodes":"value":568,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":25455,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":683,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":7,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":1547,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 200.436 1 -total"," 37.45% 75.057 1 แม่แบบ:Cite_web"," 26.82% 53.749 1 แม่แบบ:ต้องการอ้างอิง"," 26.35% 52.809 1 แม่แบบ:กล่องรวมปี"," 24.19% 48.486 1 แม่แบบ:ปีในปฏิทินอื่น"," 18.21% 36.492 1 แม่แบบ:Ambox"," 5.95% 11.922 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 3.01% 6.042 1 แม่แบบ:โครงปี"," 1.69% 3.387 1 แม่แบบ:หมวดโครง"," 1.47% 2.944 1 แม่แบบ:Main_other"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.098","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":2578812,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1261","timestamp":"20190328132802","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e1e.u0e28. 2519","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2519","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q2480","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q2480","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-06-27T17:17:08Z","dateModified":"2019-02-18T14:18:28Z","headline":"u0e1bu0e35"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":123,"wgHostname":"mw1261"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области