Skip to main content

พ.ศ. 2478 เนื้อหา ผู้นำ เหตุการณ์ วันเกิด วันถึงแก่กรรม รางวัล รายการเลือกการนำทางแก้เพิ่มข้อมูล

พ.ศ. 2478บทความเกี่ยวกับ วันเดือนปี ที่ยังไม่สมบูรณ์











(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




พ.ศ. 2478




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา







ศตวรรษ:

  • 19

  • 20

  • 21


ปี:

  • 2475

  • 2476

  • 2477

  • 2478

  • 2479

  • 2480

  • 2481






























































1935 ในปฏิทินอื่น
ปฏิทินสุริยคติไทย2478
ปฏิทินเกรกอเรียน1935
MCMXXXV
Ab urbe condita2688
ปฏิทินอาร์เมเนีย1384
ԹՎ ՌՅՁԴ
ปฏิทินอัสซีเรีย6685
ปฏิทินบาไฮ91–92
ปฏิทินเบงกาลี1342
ปฏิทินเบอร์เบอร์2885
ปีในรัชกาลอังกฤษ24 Geo. 5 – 25 Geo. 5
พุทธศักราช2479
ปฏิทินพม่า1297
ปฏิทินไบแซนไทน์7443–7444
ปฏิทินจีน
甲戌年 (จอธาตุไม้)
4631 หรือ 4571
    — ถึง —
乙亥年 (กุนธาตุไม้)
4632 หรือ 4572
ปฏิทินคอปติก1651–1652
ปฏิทินดิสคอร์เดีย3101
ปฏิทินเอธิโอเปีย1927–1928
ปฏิทินฮีบรู5695–5696
ปฏิทินฮินดู
 - วิกรมสมวัต
1991–1992
 - ศกสมวัต
1857–1858
 - กลียุค
5036–5037
ปฏิทินโฮโลซีน11935
ปฏิทินอิกโบ935–936
ปฏิทินอิหร่าน1313–1314
ปฏิทินอิสลาม1353–1354
ปฏิทินญี่ปุ่น
ศักราชโชวะ 10
(昭和10年)
ปฏิทินจูเช24
ปฏิทินจูเลียนเกรกอเรียนลบ 13 วัน
ปฏิทินเกาหลี4268
ปฏิทินหมินกั๋ว
ROC 24
民國24年

พุทธศักราช 2478 ปีกุน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935


(ตามการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2478 เริ่มต้นในวันที่ 1 เมษายน)




เนื้อหา





  • 1 ผู้นำ


  • 2 เหตุการณ์


  • 3 วันเกิด


  • 4 วันถึงแก่กรรม


  • 5 รางวัล

    • 5.1 รางวัลโนเบล





ผู้นำ



  • พระมหากษัตริย์ – พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (2 มีนาคม พ.ศ. 2477–9 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
    • เจ้านครประเทศราช (นครเชียงใหม่) : เจ้าแก้วนวรัฐ (พ.ศ. 2452-2482)

    • เจ้านครประเทศราช (นครลำพูน) : เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (พ.ศ. 2454-2486)



  • นายกรัฐมนตรี – พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) (21 มิถุนายน พ.ศ. 2476–16 ธันวาคม พ.ศ. 2481)

สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2478



เหตุการณ์



  • 3 ตุลาคม - มุสโสลินีส่งกองทหารอิตาลีเข้ายึดเอธิโอเปีย


  • 27 มกราคม – ทีมฟุตบอลทีมชาติอุรุกวัยชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 13 ณ สนามกีฬานาซีโอนัล กรุงลิมา ประเทศเปรู


  • 26 กุมภาพันธ์ - เกิดเหตุการณ์ 2-26 ในญี่ปุ่นโดยกลุ่มทหารหัวรุนแรงปิดล้อมศูนย์กลางรัฐบาลในกรุงโตเกียว และสังหารรัฐมนตรีคลัง โคเรดิโย ตาคาฮาชิ


  • 7 มีนาคม - ฮิตเลอร์ส่งทหารเข้าไปในแคว้นไรน์


วันเกิด





สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดัลอะซิซ อาล สะอูด



  • 6 มกราคม – สมเด็จพระราชินีมาร์การิตาแห่งบัลแกเรีย


  • 8 มกราคม – เอลวิส เพรสลีย์ นักร้องแนวร็อกแอนด์โรลและนักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 16 สิงหาคม พ.ศ. 2520)


  • 16 มกราคม – อูโด ลาเทค ผู้ฝึกสอนฟุตบอลชาวเยอรมัน (ถึงแก่กรรม 31 มกราคม พ.ศ. 2558)


  • 31 มกราคม – เค็นซะบุโร โอเอะ นักเขียนชาวญี่ปุ่น ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม


  • 12 กุมภาพันธ์ –

    • โผน กิ่งเพชร นักมวยสากลชาวไทย (ถึงแก่กรรม 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525)

    • เจ้าหญิงมารินา เจ้าหญิงแห่งเนเปิลส์



  • 25 มีนาคม – แฟลซ อีลอสเด้ นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ (ถึงแก่กรรม 2 มกราคม พ.ศ. 2528)


  • 12 เมษายน – ลพ บุรีรัตน์ นักร้องและนักแต่งเพลงลูกทุ่ง (ถึงแก่กรรม 10 ธันวาคม พ.ศ. 2559)


  • 8 พฤษภาคม – เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่ 1 ของ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก


  • 16 พฤษภาคม – เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ (ถึงแก่กรรม 13 มีนาคม พ.ศ. 2548)


  • 13 มิถุนายน

    • สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 แห่งราชอาณาจักรไทย (ถึงแก่อนิจกรรม 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)


    • คริสโตและฌอง-โคลด ศิลปินแนวจัดวางชาวอเมริกันเชื้อสายบัลแกเรียและโมรอกโก (ฌอง-โคลดถึงแก่กรรม 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)



  • 6 กรกฎาคม – เทนซิน เกียตโซ ทะไลลามะองค์ที่ 14 ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ


  • 12 สิงหาคม – จอห์น คาซาล นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 13 มีนาคม พ.ศ. 2521)


  • 20 สิงหาคม – รอน พอล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา


  • 5 กันยายน – มานพ ยาระณะ ศิลปินชาวไทย (ถึงแก่กรรม 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558)


  • 16 กันยายน – กำธร สุวรรณปิยะศิริ นักแสดงและนักพากย์ภาพยนตร์ชาวไทย (ถึงแก่กรรม 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553)


  • 20 กันยายน – สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ (ถึงแก่อนิจกรรม 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559)


  • 29 กันยายน – เจอร์รี ลี ลูวิส นักดนตรีแนวร็อกแอนด์โรลชาวอเมริกัน


  • 1 ตุลาคม – จูลี แอนดรูว์ นักร้องและนักแสดงชาวอังกฤษ


  • 6 ตุลาคม – บรูโน ซามมาร์ติโน นักมวยปล้ำอาชีพชาวอิตาลี


  • 9 ตุลาคม – เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์


  • 12 ตุลาคม – ลูชาโน ปาวารอตตี นักร้องโอเปราเสียงเทเนอร์ชาวอิตาลี (ถึงแก่กรรม 6 กันยายน พ.ศ. 2550)


  • 8 พฤศจิกายน – อาแล็ง เดอลง นักแสดงชาวฝรั่งเศส


  • 14 พฤศจิกายน – สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน (สวรรคต 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542)


  • 16 พฤศจิกายน – มุฮัมมัด ฮุเซน ฟัฎลุลลอหฺ ผู้นำจิตวิญญาณชาวเลบานอน (ถึงแก่กรรม 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553)


  • 28 พฤศจิกายน – เจ้าชายมะซะฮิโตะ เจ้าฮิตะชิ


  • 1 ธันวาคม – วูดดี อัลเลน นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน


  • 8 ธันวาคม – ธรรเมนทระ นักแสดงและนักการเมืองชาวอินเดีย


  • 11 ธันวาคม – ประณัพ มุขัรชี ประธานาธิบดีคนที่ 13 แห่งสาธารณรัฐอินเดีย


  • 15 ธันวาคม – มนูญกฤต รูปขจร อดีตประธานวุฒิสภา


  • 26 ธันวาคม – นัสซิงเบ เอยาเดมา ประธานาธิบดีคนที่ 5 แห่งสาธารณรัฐโตโก (ถึงแก่อสัญกรรม 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548)


  • 31 ธันวาคม – สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดัลอะซิซ อาล สะอูด


วันถึงแก่กรรม



  • 28 มกราคม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป (ประสูติ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2404)


  • 29 มกราคม – สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี (ประสูติ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2429)


  • 8 กุมภาพันธ์ – มักซ์ ลีเบอร์มันน์ จิตกรชาวเยอรมัน (เกิด 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2390)


  • 21 พฤษภาคม – ฮือโค เดอ ฟรีส นักพฤกษศาสตร์และนักพันธุศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391)


  • 29 สิงหาคม – สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม (พระราชสมภพ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448)


  • 19 กันยายน – คอนสแตนติน ซีออลคอฟสกี นักวิทยาศาสตร์จรวดชาวรัสเซีย (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2400)


  • 23 ตุลาคม – ชาลส์ เดมัธ ศิลปินชาวอเมริกัน (เกิด 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2426)


  • 13 ธันวาคม – วิกตอร์ กรีญาร์ นักเคมีชาวฝรั่งเศส (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2414)


รางวัล



รางวัลโนเบล



  • สาขาเคมี – Frédéric Joliot, Irene Joliot-Curie


  • สาขาวรรณกรรม – ไม่มีการมอบรางวัล


  • สาขาสันติภาพ – คาร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกี


  • สาขาฟิสิกส์ – เจมส์ แชดวิก


  • สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ฮันส์ สเปมันน์










ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=พ.ศ._2478&oldid=8122096"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.116","walltime":"0.159","ppvisitednodes":"value":298,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":15491,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":606,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":5,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":0,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 70.804 1 -total"," 87.76% 62.141 1 แม่แบบ:กล่องรวมปี"," 81.66% 57.819 1 แม่แบบ:ปีในปฏิทินอื่น"," 7.92% 5.610 1 แม่แบบ:โครงปี"," 4.71% 3.337 1 แม่แบบ:หมวดโครง"," 3.79% 2.681 1 แม่แบบ:ปีใหม่1เมษา"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.024","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1194007,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1250","timestamp":"20190316141245","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e1e.u0e28. 2478","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2478","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q18658","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q18658","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-11-03T08:03:00Z","dateModified":"2019-02-16T09:15:13Z","headline":"u0e1bu0e35"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":155,"wgHostname":"mw1271"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области