Skip to main content

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ เนื้อหา ชาติวงศ์ตระกูล การศึกษา เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อ้างอิง รายการเลือกการนำทางแจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบันพระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรีรายนามอธิบดีกรมที่ดินรายนามอธิบดีกรมทรัพยากรธรณีพระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๒ ราย)ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกราบถวายบังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญช่วยราชการเขตต์ภายในแจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์เพิ่มข้อมูล

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2441บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2518หม่อมหลวงราชสกุลสนิทวงศ์บรรดาศักดิ์ชั้นหลวงองคมนตรีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทยรัฐมนตรีไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยข้าราชการพลเรือนชาวไทยปลัดกระทรวงพาณิชย์ไทยอธิบดีกรมที่ดินราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์บุคคลจากโรงเรียนเทพศิรินทร์นักการธนาคารชาวไทยบุคคลจากโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.จ. (ฝ่ายหน้า)สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.สมาชิกเหรียญจักรพรรดิมาลาสมาชิกเหรียญรัตนาภรณ์ ภ.ป.ร.1บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์


18 กุมภาพันธ์พ.ศ. 24418 กันยายนพ.ศ. 2518ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยองคมนตรีกรมที่ดินกรมทรัพยากรธรณีบรรดาศักดิ์ไทยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9มหาวิทยาลัยกรุงแบร์นประเทศสวิตเซอร์แลนด์เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)ท่านผู้หญิงวงษานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี)เจ้าพระยามุขมนตรี (เกด สิงหเสนี)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์โรงเรียนเทพศิรินทร์โรงเรียนราชวิทยาลัยกระทรวงยุติธรรมพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์8 พฤษภาคมพ.ศ. 2457ประจวบ บุนนาคพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)สงครามโลกครั้งที่ 14 สิงหาคมพ.ศ. 245722 กรกฎาคมพ.ศ. 2460สัมพันธมิตรเติม บุนนาคตั้ว ลพานุกรมประจวบ บุนนาคหม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์หม่อมหลวงไพจิตร สุทัศน์กระจ่าง บุนนาคแบร์นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรสหราชอาณาจักรกระทรวงพาณิชย์










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
















หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์
หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ 0001.jpg
เกิด
18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441
กรุงเทพมหานคร
เสียชีวิต8 กันยายน พ.ศ. 2518 (77 ปี)
สัญชาติไทย
อาชีพประธานองคมนตรี
ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
คู่สมรสท่านผู้หญิงประยงค์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา[1]
บุตรคุณวรุณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
นายพิสิษฐ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
นายมนูเสรี สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
บิดามารดา
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
ท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี)

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์[2] อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย[3] อดีตประธานองคมนตรี[4] อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี [5][6] และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์[7] กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์


ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ พ.ศ. 2484[8]


หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ จบการศึกษาปริญญาเอกจาก มหาวิทยาลัยกรุงแบร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในสาขาเศรษฐศาสตร์[9]




เนื้อหา





  • 1 ชาติวงศ์ตระกูล


  • 2 การศึกษา

    • 2.1 ในประเทศ


    • 2.2 ต่างประเทศ



  • 3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์

    • 3.1 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ


    • 3.2 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ



  • 4 อ้างอิง




ชาติวงศ์ตระกูล


หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (หลวงเดชสหกรณ์) เป็นบุตรชายคนที่ 3 ของพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงษานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) ในสายเจ้าพระยามุขมนตรี (เกด สิงหเสนี) เกิดที่วังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ตำบลป้อมปราบศัตรูพ่าย อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 ขณะที่ท่านบิดามียศและบรรดาศักดิ์เป็นพันตรี หม่อมชาติเดชอุบล (หม่อมราชินิกุล) มีพี่น้องทั้งหมด คือ


  1. หม่อมหลวงชื่น สนิทวงศ์

  2. หลวงจรูญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรูญ สนิทวงศ์)

  3. หลวงจรัญสนิทวงศ์ (หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์)

  4. หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (หลวงเดชสหกรณ์)

  5. หมอมหลวงอุดม สนิทวงศ์

  6. หม่อมหลวงแส กฤดากร

  7. หม่อมหลวงสงบ สนิทวงศ์

  8. หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์

  9. หม่อมหลวงบัว กิติยากร

  10. พลโท หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์

  11. หม่อมหลวงทัยเกษม สนิทวงศ์

  12. หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค (ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค)

  13. หม่อมหลวงกมล สนิทวงศ์

  14. หม่อมหลวงสารภี มิ่งเมือง (ท่านผู้หญิงสารภี มิ่งเมือง)


การศึกษา



ในประเทศ


หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ได้เข้าศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนบ้านคุณหญิงหงษ์ ภริยาพลตรี พระยาสิงหเสนีศรีสยามเมนทร์สวามิภักดิ์ ผู้มีศักดิ์เป็นป้า ใน พ.ศ. 2449 ได้เข้าเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นเวลา 5 ปี สอบไล่ได้ชั้น 2 ต่อมาเมื่อทางราชการได้ย้ายโรงเรียนราชวิทยาลัยจากโรงเลี้ยงเด็กไปเปิดใหม่เป็นโรงเรียนกินนอนโดยเฉพาะ (แบบ Public School ของอังกฤษ) สังกัดกระทรวงยุติธรรม ที่ตำบลบางขวาง จังหวัดนนทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2454 ท่านบิดาจึงให้หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ พร้อมกับพี่และน้องชายอีก 3 คน เข้าเรียนโรงเรียนนี้ตั้งแต่เริ่มแรกจนสอบไล่ได้ชั้น 6



ต่างประเทศ


ใน พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้ออกไปศึกษาวิชา ณ ประเทศเยอรมนีด้วยทุนของรัฐบาลพร้อมกับหม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ ได้ออกเดินทางจากประเทศสยาม เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 เพื่อให้ได้รับการฝึกอบรมให้คุ้นเคยกับขนบธรรมเนียมชีวิตในครอบครัวของชาวเยอรมัน และเรียนภาษาเยอรมันและฝรั่งเศสเป็นการเตรียมตัวเข้าโรงเรียนมัธยมของรัฐบาลประเภท Oberrealschule ในชั้น 4 (มีทั้งหมด 4 ชั้น) ในทันปีการศึกษา 2458 สถานทูตไทยที่กรุงเบอร์ลินจึงได้จัดให้อยู่กับครอบครัวของ Prof. A. Schaeffer ที่เมือง Halberstadt ในแคว้น Saxony ในครอบครัวและโรงเรียนมัธยมของรัฐบาลนี้ ได้มีคนไทยคือ นายจรัญ บุนนาค และนายประจวบ บุนนาค บุตรพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) อาศัยและเรียนอยู่ก่อนแล้ว


เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อุบัติขึ้นเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2457 และประเทศสยามยังมิได้ประกาศสงครามกับประเทศเยอรมนีนั้น การศึกษาของหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ มิได้รับความกระทบกระเทือนแต่ประการใด ได้เข้าเรียนในชั้น 4 ของโรงเรียนมัธยมใน พ.ศ. 2458 ตามที่กำหนดไว้เดิม และได้เรียนจบชั้น 6 เมื่อ พ.ศ. 2460 แต่เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 ประเทศสยามได้ประกาศสงครามกับประเทศเยอรมนี และประเทศออสเตรีย - ฮังการี โดยเข้าเป็นฝ่ายสัมพันธมิตร รัฐบาลเยอรมันจึงได้จับกุมนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศเยอรมนีทั้งหมดรวม 9 คน (ยกเว้น นายปุ่น ชูเทศะ ซึ่งยังเป็นเด็กมีอายุเพียง 12 หรือ 13 ปี) ไว้เป็นเชลยและเป็นตัวประกัน สำหรับชาวเยอรมันทั้งหมดที่อยู่ในประเทศสยามและถูกทางรัฐบาลจับกุมคุมขังไว้ ณ ค่ายกักกันในวันที่ประเทศสยามประกาศสงคราม หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ถูกจับกุมที่กรุงเบอร์ลินเมื่อต้นเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2460 พร้อมกับนักเรียนไทยอีก 4 คน คือ นายเติม บุนนาค, นายตั้ว ลพานุกรม, นายประจวบ บุนนาค และหม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ และทางราชการทหารได้นำตัวไปฝากขังไว้ในคุกแห่งหนึ่งของกรุงเบอร์ลินเป็นเวลา 15 วัน แล้วจึงย้ายไปคุมขังไว้ที่ค่ายกักกันนายทหารกองหนุน ชื่อ Celle-Schloss ที่เมือง Celle ใกล้เมือง Hannover ตั้งแต่กลางเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2460 จนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2461 เมื่อได้ย้ายมาอยู่ค่ายนี้ไม่ต้องทำงานแต่ประการใด และเมื่อได้ทราบว่าคนไทย 3 คน คือ หม่อมหลวงไพจิตร สุทัศน์, นายกระจ่าง บุนนาค และนายจรัญ บุนนาค ซึ่งถูกคุมขังอยู่ที่เมือง Holzminden ต้องทำงานหนักตลอดวัน จึงได้ร้องขอให้ย้ายมาขังรวมกันที่ Celle-Schloss และก็ได้รับความสำเร็จตามที่ร้องขอนั้น


ต่อมาเมื่อเกิดปฏิวัติขึ้นประเทศเยอรมนี ต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2461 บรรดาเชลยศึกในค่ายกักกันต่าง ๆ ได้ถูกปลดปล่อยให้กลับบ้านเมืองของตนได้ คณะนักเรียนไทยซึ่งยังมีเหลืออยู่เพียง 7 คน เพราะนายจรัญ บุนนาค ได้ป่วยเป็นวัณโรค และเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง ต่อมาได้มีนายปุ่น ชูเทศะ ได้เข้ามาสมทบอีกจึงมีเป็น 8 คน ได้เดินทางโดยรถไฟผ่านประเทศเบลเยี่ยมไปกรุงปารีสเพื่อรายงานตัวต่อท่านอัครราชทูตไทย


เมื่อเสร็จสงครามโลกแล้ว นักเรียนไทยคนอื่น ๆ ได้เดินทางกลับมาเยี่ยมบ้านพร้อมกับกองทหารอาสา แต่หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ นั้น ท่านบิดาเห็นว่าได้เสียเวลามาแล้วถึง 3 ปี ไม่ควรเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านพร้อมกับกองทหารอาสาสงคราม หากแต่ควรรีบศึกษาต่อโดยไม่ชักช้า ทางราชการจึงจัดให้เรียนวิชาสามัญ (ต่อจากโรงเรียนในประเทศเยอรมนี) ที่กรุงแบร์น ประเทศสวิตเซอรแลนด์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2462 โดยให้อยู่ในความปกครองดูแลของท่านอัครราชทูตไทย ประจำกรุงปารีส พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อได้ใช้เวลาเตรียมตัวประมาณ 18 เดือนแล้ว หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ได้เข้าสอบไล่เข้ามหาวิทยาลัย cantonal matriculation ได้ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2463 ต่อจากนั้นก็ได้เข้าศึกษา ณ มหาวิทยาลัยกรุงแบร์น ในวิชาเศรษฐศาสตร์จนจบชั้นดุษฎีบัณฑิต (Doktor rerum politicarum) ชั้นเกียรตินิยม (cum laude) ใน พ.ศ. 2468 หลังจากนั้นได้เดินทางไปประเทศอังกฤษ เพื่อเรียนภาษาและศึกษาค้นคว้าประวัติเศรษฐศาสตร์และการค้าระหว่างประเทศไทยกับสหราชอาณาจักรอีกประมาณ 6 เดือน แล้วจึงลงเรือเดินทางกลับประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2469 ถึงประเทศไทยเมื่อวันที่ 27 มกราคม ศกเดียวกัน และได้รายงานตัวที่กระทรวงพาณิชย์ในวันรุ่งขึ้น



เครื่องราชอิสริยาภรณ์



เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ



  • 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 - Order of Chula Chom Klao - 1st Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.)


  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2497 - Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)


  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)


  • 19 กันยายน พ.ศ. 2486 - Order of the White Elephant - 1st Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)


  • 19 กันยายน พ.ศ. 2484 - Order of the Crown of Thailand - 1st Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)


  • 26 เมษายน พ.ศ. 2493 - Order of Chula Chom Klao - 2nd Class upper (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)


  • 19 กันยายน พ.ศ. 2482 - Order of the White Elephant - 2nd Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)


  • 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 - Order of the White Elephant - 5th Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นเบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.)


  • 21 กันยายน พ.ศ. 2462 - War Medal of BE2461 (Thailand) ribbon.png เหรียญงานพระราชสงครามทวีปยุโรป


  • 21 กันยายน พ.ศ. 2462 - Order of the White Elephant - Medal (Thailand) ribbon.png เหรียญทองช้างเผือก


  • 21 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - Medal for Service in the Interior - Indochina (Thailand) ribbon.png เหรียญช่วยราชการเขตภายใน การรบสงครามอินโดจีน[10]


  • 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 - King Rama IX Royal Cypher Medal (Thailand) ribbon.png เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1[11]


  • พ.ศ. 2464 - World War I Victory Medal ribbon.svg เหรียญชัย


  • พ.ศ. 2500 - Red Cross Medal of Appreciation (Thailand) ribbon.png เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้น 1


เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ



  • 15 มิถุนายน พ.ศ. 2501 - DNK Order of Danebrog Grand Cross BAR.png Grand Croix de 1' Ordre du Dannebrog ราชอาณาจักรเดนมาร์ก


  • 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 - GER Bundesverdienstkreuz 6 GrVK Stern Band.svg Großes Verdienstkreuz mit Stern und Schulterband สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี


  • 22 ตุลาคม พ.ศ. 2507 - AUT Honour for Services to the Republic of Austria - 2nd Class BAR.png Großes Goldenes Ehrenzeichen am Bande für Verdienste um die Republik Österreich: Hüftdekoration mit Bruststern, entspricht einem Großkreuz 1. Klasse สาธารณรัฐออสเตรีย


อ้างอิง



  • http://www.bot.or.th/BotHomepage/BankAtWork/AboutBOT/Organize/cv_dej_t.htm



  1. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๘, ตอน ๔๐ ง, ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๔, หน้า ๑๒๗๙


  2. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์


  3. ผู้ว่าการจากอดีตถึงปัจจุบัน


  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี


  5. รายนามอธิบดีกรมที่ดิน


  6. รายนามอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี


  7. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๒ ราย)


  8. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกราบถวายบังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์


  9. Mom Luang Dej Snidvongs: Die Entwicklung des siamesischen Aussenhandels vom 16. bis zum 20. Jahrhundert unter Hinweis auf die schweizerisch-siamesischen Austauschmöglichkeiten. Dissertation, Univ. Bern, 1926.


  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญช่วยราชการเขตต์ภายใน (การรบสงครามอินโดจีน) เล่ม 58, 23 มิถุนายน 2484 หน้า 1948.


  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม 70, ตอน 54 ง, 18 สิงหาคม พ.ศ. 2496, หน้า 2967.












ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=หม่อมหลวงเดช_สนิทวงศ์&oldid=7709391"










รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.648","walltime":"0.767","ppvisitednodes":"value":4391,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":618299,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":41238,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":15,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":5894,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 361.146 1 -total"," 41.58% 150.169 29 แม่แบบ:Navbox"," 30.49% 110.121 1 แม่แบบ:Infobox_Person"," 26.37% 95.227 1 แม่แบบ:Infobox"," 20.52% 74.090 3 แม่แบบ:Navbox_with_collapsible_groups"," 13.30% 48.040 1 แม่แบบ:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์"," 7.57% 27.355 1 แม่แบบ:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์"," 7.17% 25.892 1 แม่แบบ:ประธานองคมนตรี"," 6.42% 23.181 4 แม่แบบ:Br_separated_entries"," 5.48% 19.775 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.102","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":2043024,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1294","timestamp":"20190325151558","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e2bu0e21u0e48u0e2du0e21u0e2bu0e25u0e27u0e07u0e40u0e14u0e0a u0e2au0e19u0e34u0e17u0e27u0e07u0e28u0e4c","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A_%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q16139550","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q16139550","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2007-07-01T12:38:14Z","dateModified":"2018-07-04T00:33:05Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/e5/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A_%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C_0001.jpg"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":142,"wgHostname":"mw1332"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области