วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร รายชื่อบทความคัดสรร หลักเกณฑ์ของบทความคัดสรร เกณฑ์ในการพิจารณา ขั้นตอนการเสนอชื่อและคัดเลือก การคัดเลือกบทความคัดสรร บทความคัดสรรประจำเดือน ดูเพิ่ม รายการเลือกการนำทางแก้ไขหน้านี้แก้ไขประวัติลิงก์มาเฝ้าดูปูม
บทความที่ถูกป้องกันการเปลี่ยนทางการบริหารบทความคัดสรรบทความ
ชาววิกิพีเดียหลักเกณฑ์ของบทความคัดสรรขั้นตอนการเสนอชื่อด้านล่างขอให้คุณกล้าแก้ไขบทความมีการปรับปรุงข้อบกพร่องหรือลดระดับของบทความแก้ไขหน้านี้วิกิพีเดีย:บทความคัดสรรประจำเดือน
(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Enu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());
วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บทความคัดสรรในวิกิพีเดียภาษาไทย บทความคัดสรร เป็นบทความซึ่งได้รับการพิจารณาว่าเป็นบทความที่ดีที่สุดในวิกิพีเดีย จากการพิจารณาคัดเลือกของชาววิกิพีเดีย ก่อนที่จะได้รับการบรรจุในรายชื่อด้านล่างนี้ บทความจะต้องผ่านการคัดเลือกตามขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพ ความเป็นกลาง ความสมบูรณ์ และรูปแบบ ตามหลักเกณฑ์ของบทความคัดสรร หากคุณเห็นว่าบทความใดเหมาะสมจะผ่านการคัดเลือกเป็นบทความคัดสรร ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนการเสนอชื่อด้านล่าง ทั้งนี้ บทความคัดสรรจะเป็นตัวอย่างแนวทางการเขียนบทความวิกิพีเดียสำหรับผู้เขียนและผู้อ่านในอนาคต หากคุณเห็นว่าบทความยังมีข้อบกพร่อง เราขอให้คุณกล้าแก้ไขบทความนั้น เพื่อรักษาคุณภาพของบทความให้อยู่ในระดับสูงต่อไป ปัจจุบัน วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความคัดสรรทั้งหมด 158 บทความ จากบทความทั้งหมด 130,313 บทความ หากคุณเห็นว่าบทความใดควรได้รับการปรับปรุงภายหลังจากได้รับคัดเลือกแล้ว เนื่องจากไม่ผ่านเกณฑ์การพิจารณาอีกต่อไป คุณสามารถเสนอให้มีการปรับปรุงข้อบกพร่องหรือลดระดับของบทความได้ บทความที่ได้รับเลือกเป็นบทความคัดสรรแล้ว จะมีสัญลักษณ์รูปดาวสีทองแดงขนาดเล็ก () ประดับไว้บริเวณมุมขวาด้านบนของบทความ เพื่อระบุแก่ผู้ใช้ทุกคนว่าบทความนั้นเป็นบทความคัดสรร นอกเหนือจากนั้น หากบทความดังกล่าวเป็นบทความคัดสรรในวิกิพีเดียภาษาอื่น จะปรากฏดาวขนาดเล็กอยู่ติดกับลิงก์ข้ามภาษา ในรายชื่อซึ่งอยู่ทางด้านซ้ายมือของหน้า | บทความคัดสรร:
|
รายชื่อบทความคัดสรร
- 1 − 2 + 3 − 4 + · · ·
- 90377 เซดนา
- MissingNo.
- กระจุกดาวทรงกลม
- กระจุกดาวเปิด
- กระซู่
- กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
- กษัตริย์อาเธอร์
- กาแฟ
- กาย ฟอกส์
- การบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน
- การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
- การบุกครองโปแลนด์
- เกมล่าชีวิต
- เกว็น สเตฟานี
- เกาะแคโรไลน์
- ไข้เด็งกี
- คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- คลองปานามา
- ความคลั่งทิวลิป
- ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน
- เคที เพร์รี
- งูจงอาง
- จักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล
- จักรวรรดิบริติช
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เจ. เค. โรว์ลิง
- เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน
- เจค จิลเลนฮอล
- เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์
- ชุดกีฬาฟุตบอล
- ซัมติง
- ซิลเวอร์แชร์
- เซนต์เซย์ย่า
- เซลีน ดิออน
- ดังคัน เอดเวิดส์
- ดาราจักร
- ดาราศาสตร์
- ดาวเคราะห์นอกระบบ
- ดาวฤกษ์
- ดาวพลูโต
- ดาวหาง
- ดาวอังคาร
- ดีเฟนส์ออฟดิแอนเชียนส์
- ดูกี
- เดอะซิมป์สันส์
- เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์
- ไดโอรามา (อัลบั้ม)
- โดนต์เซย์ยูเลิฟมี
- ตารางธาตุ
- ตีแยรี อ็องรี
- แถบดาวเคราะห์น้อย
- ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์
- ทุเรียน
- ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
- เทย์เลอร์ สวิฟต์
- ธงชาติไทย
- ธงไชย แมคอินไตย์
- นอร์ทโรด
- นาซีเยอรมนี
- นิกกีและเปาลู
- เนบิวลาปู
- เนลสัน มันเดลา
- บารัก โอบามา
- บิกแบง
- ปฏิบัติการเท็งโง
- ประชาธิปไตย
- ประเทศญี่ปุ่น
- ประเทศตองงา
- ประเทศเปรู
- ประเทศฟินแลนด์
- ประเทศไทย
- ปรากฏการณ์โลกร้อน
- ปีแยร์ รอซีเย
- ปรีดี พนมยงค์
- พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์
- พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
- พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระเมรุมาศ
พิงเคอร์ตัน- พังก์ร็อก
- พันธุศาสตร์
- เพชรพระอุมา
- เพลงลูกทุ่ง
- เพนกวินจักรพรรดิ
- ฟุตบอลโลก
- แฟรนเซียม
- ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดิชิ
- ภาพยนตร์ไทย
- ภาวะคู่หรือคี่ของ 0
- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- มหาวิทยาลัยนเรศวร
- มิตร ชัยบัญชา
- มารายห์ แครี
- มาริโอ้ เมาเร่อ
- เมทัลลิกา
- เมแทบอลิซึม
- ไมเคิล แจ็กสัน
- ยุทธการที่เดียนเบียนฟู
- รักแห่งสยาม
- รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549
- เรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์
- ระบบสุริยะ
- เรนอินบลัด
- แรดชวา
- โรคซึมเศร้า
- ไรอัน ไวต์
- โลก (ดาวเคราะห์)
- ไลท์นิง
- วิลเลียม เชกสเปียร์
- วันวิสาขบูชา
- วันอาสาฬหบูชา
- วิกฤตการเงิน ค.ศ. 1907
- เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น
- สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้
- สงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์
- สตาร์คราฟต์
- สถานีอวกาศนานาชาติ
- สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์
- สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก
- สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
- สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
- สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
- สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
- สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี
- สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
- สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
- สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
- สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์
- สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย
- สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
- สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
- สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา
- สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2003–04
- สยามสแควร์
- ส้วมในประเทศไทย
- สหประชาชาติ
- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
- สุนทรภู่
- สุลัยมานผู้เกรียงไกร
- เสือ
- อสุรกายดงดิบ
- อะตอม
- อาซิโม
- อันดับสัตว์ฟันแทะ
- อันเนอ ฟรังค์
- อาร์คิมิดีส
- อีริก บานา
- โอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ
- แฮร์รี่ พอตเตอร์
หมายเหตุ : บทความที่เป็นตัวหนา หมายถึงบทความที่เคยได้เป็นบทความคัดสรรประจำเดือนแล้ว
หลักเกณฑ์ของบทความคัดสรร
- ดูหลักเกณฑ์ทั้งหมดได้ที่ วิกิพีเดีย:บทความคัดสรรคืออะไร
เนื้อหา
- เนื้อหาเป็นสารานุกรม (ตามเงื่อนไขในการนับว่าเป็นสารานุกรม และนโยบาย วิกิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย)
- เนื้อหามีความเป็นกลาง (ตามนโยบายมุมมองที่เป็นกลาง)
- เนื้อหาไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ (ตามนโยบายละเมิดลิขสิทธิ์)
- เนื้อหาไม่ใช่งานค้นคว้าต้นฉบับ (ตามนโยบายงดงานค้นคว้าต้นฉบับ)
- เนื้อหามีการอ้างอิงแหล่งที่มา (ตามนโยบายการพิสูจน์ยืนยันได้และการอ้างอิงแหล่งที่มา)
- เนื้อหามีเสถียรภาพ (ไม่อยู่ภายใต้ "สงครามแก้ไข")
- เนื้อหาหลักมีความสมบูรณ์ในตัวบทความเอง
ภาพและตาราง
- บทความควรมีภาพหรือสื่อประกอบเนื้อหา
- ภาพและสื่อในบทความได้ระบุสัญญาอนุญาตที่เหมาะสม และถูกต้อง (ตามนโยบายการใช้ภาพ และนโยบายลิขสิทธิ์)
- รูปแบบตารางจัดได้เหมาะสม และมีการเน้นหัวตาราง
รูปแบบการเขียน
- ใช้สำนวนที่อ่านเข้าใจ ไวยากรณ์ถูกต้อง และโครงสร้างชัดเจน
- แบ่งหัวข้อได้เหมาะสมและชัดเจน
หมายเหตุ: บทความที่มีเนื้อหาละเมิดลิขสิทธิ์ มีป้ายแจ้งต้องการปรับปรุงเนื้อหา หรือถูกแจ้งลบจะไม่ได้รับการพิจารณาให้เป็นบทความคัดสรรโดยทันที
เกณฑ์ในการพิจารณา
การพิจารณาบทความคัดสรรนั้น พิจารณาจากหลักเกณฑ์ข้างต้น โดยทุกคนสามารถลงชื่อสนับสนุน คัดค้าน หรือเสนอแนะให้มีการปรับปรุง โดยให้เหตุผลประกอบในการพิจารณาทุกครั้ง โดยการพิจารณาบทความนั้น หากเป็นไปได้ให้พิจารณาบทความ 10 อันดับแรกก่อนแล้วไล่ลงไป บทความที่ได้รับการเสนอชื่อนั้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
ได้รับการเสนอชื่อใหม่- บทความที่ได้รับการเสนอชื่อใหม่ โดยจะได้รับการพิจารณาภายใน 2 สัปดาห์ นับจากวันที่เสนอชื่อ
อยู่ในระหว่างรอการปรับปรุง- บทความที่ผ่านเกณฑ์การพิจารณา แต่อยู่ระหว่างการปรับปรุงความสมบูรณ์ของเนื้อหา ถ้าบทความไม่มีการปรับปรุงเนื้อหาในระยะเวลา 4 สัปดาห์ นับจากวันเริ่มเสนอชื่อ บทความนั้นจะถูกเปลี่ยนเป็น "บทความที่เคยถูกเสนอชื่อเป็นบทความคัดสรร"
ผ่านเกณฑ์- บทความที่ผ่านเกณฑ์การพิจารณา ได้ถูกปรับแก้จากข้อเสนอแนะของผู้ลงความเห็นคนอื่น โดยผู้พิจารณาจะไม่ใช่ผู้ที่ร่วมแก้ไขหลักสำหรับบทความดังกล่าว หรือผู้เสนอชื่อ
เคยถูกเสนอชื่อ- บทความไม่ได้แก้ไขเพิ่มเติมให้ดียิ่งขึ้นตามความเห็น ภายหลังจากเวลาที่กล่าวไว้ข้างต้น
- อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถเสนอชื่อบทความที่เคยถูกเสนอชื่อได้ในภายหลัง ถ้าหากบทความนั้นได้รับการแก้ไขปรับปรุงจากข้อเสนอแนะของผู้ลงความเห็นคนอื่นแล้ว
ขั้นตอนการเสนอชื่อและคัดเลือก
ชาววิกิพีเดียที่มีบัญชีผู้ใช้เท่านั้นจึงจะเสนอได้ การเสนอและพิจารณาบทความ มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนในการเสนอชื่อ
- เลือกบทความที่คุณคิดว่าเป็นบทความคัดสรร ที่คุณเขียนขึ้นมา ร่วมเขียนขึ้นมา หรือว่าไม่ได้เขียนแต่มีความสนใจ และนำรายชื่อนั้นไปเสนอในส่วนของการเสนอชื่อ (ถึงแม้ว่าไม่มีการจำกัดจำนวนบทความที่เสนอชื่อ แต่การเสนอบทความหลายชื่อในเวลาเดียวกันก็ไม่เป็นที่แนะนำ)
- ใส่ป้าย FAnominee โดยใส่วันเดือนปีรูปแบบ dd/mm/yyyy (พ.ศ.) ในหน้าพูดคุยของบทความที่เสนอ
- ช่วงเวลาการเสนอชื่อและคัดเลือกเป็นบทความคัดสรรนั้น จะใช้เวลาประมาณ 2 อาทิตย์นับจากวันที่เริ่มเสนอชื่อ
- ภายหลังจากเสนอชื่อให้รอเป็นเวลา 2 อาทิตย์ ซึ่งในระหว่างนั้นจะมีความเห็นจากผู้อื่น ซึ่งทางผู้เสนอชื่อหรือผู้เขียนคนอื่น ควรร่วมกันปรับแก้บทความให้ดียิ่งขึ้น
วิธีการเสนอชื่อ
วันที่เสนอ | 14 มีนาคม 2562 |
---|---|
เส้นตายรอบแรก | 28 มีนาคม 2562 |
เส้นตายรอบสอง | 11 เมษายน 2562 |
1 | เสนอชื่อบทความคัดสรร พิมพ์ชื่อบทความแทนที่คำว่า ชื่อบทความ แล้วคลิก เสนอบทความ (ไอพีและผู้ใช้ใหม่ไม่สามารถเสนอชื่อบทความ) |
---|---|
2 | ขึ้นบัญชีบทความที่เสนอ แก้ไขหน้านี้ และเพิ่มโค้ดดังนี้ไว้ล่างสุด โดยเปลี่ยนคำว่า ชื่อบทความ เป็นชื่อบทความที่คุณเสนอ: |
3 | ขึ้นป้ายในหน้าคุยของบทความ โดยเพิ่มโค้ดดังนี้: FAnominee |
การคัดเลือกบทความคัดสรร
พื้นที่นี้ใช้สำหรับแสดงรายชื่อบทความที่ถูกเสนอชื่อเพื่อรับการพิจารณาเป็นบทความคัดสรร บทความจะได้รับการพิจารณาภายใน 2 สัปดาห์หลังวันเสนอชื่อ
ขณะนี้วันที่ 14 มีนาคม 2562 เวลา 17:23 น.
บทความที่อยู่ระหว่างรอการปรับปรุง หลังจากได้ตัดสินไปรอบแรก
ขณะนี้ยังไม่มีบทความที่อยู่ระหว่างรอการปรับปรุง
บทความที่ได้รับการเสนอชื่อใหม่
— ลงคะแนนและเสนอแนะ จะได้รับการพิจารณาในวันที่ 16 มีนาคม 2562
บทความคัดสรรประจำเดือน
บทความคัดสรรประจำเดือน คือบทความคัดสรรที่ได้รับคัดเลือกจากชาววิกิพีเดีย สำหรับนำไปแสดงไว้ในหน้าหลักของวิกิพีเดียในแต่ละเดือน
การคัดเลือกบทความคัดสรรประจำเดือน จะพิจารณาจากบทความที่แสดงให้เห็นว่าวิกิพีเดียเป็นสารานุกรมที่ดี น่าเชื่อถือ มีรายละเอียดที่ครอบคลุม และมีผู้ลงชื่อสนับสนุนมากที่สุด คุณสามารถเสนอชื่อและลงชื่อสนับสนุนบทความคัดสรรประจำเดือนได้ที่ วิกิพีเดีย:บทความคัดสรรประจำเดือน
ดูเพิ่ม
- บทความคัดสรรที่ควรปรับปรุงใหม่
- รายชื่อบทความที่เคยถูกเสนอชื่อแต่ไม่ผ่านเกณฑ์
- วิกิพีเดีย:ความแตกต่างระหว่างบทความคัดสรรและบทความคุณภาพ
- วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ
- วิกิพีเดีย:ภาพคัดสรร
หมวดหมู่:
- บทความที่ถูกป้องกันการเปลี่ยนทาง
- การบริหารบทความคัดสรร
- บทความ
(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.184","walltime":"0.280","ppvisitednodes":"value":364,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":72664,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":45418,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":9,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":2,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":847,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 175.377 1 -total"," 66.42% 116.488 1 วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร/คำอธิบาย"," 22.73% 39.868 1 แม่แบบ:กึ่งล็อก"," 20.58% 36.092 1 แม่แบบ:Top_icon"," 19.16% 33.608 1 แม่แบบ:เว็บย่อ"," 16.07% 28.187 1 แม่แบบ:Infobox"," 13.86% 24.299 1 แม่แบบ:Category_handler"," 10.90% 19.123 1 แม่แบบ:Columns-list"," 9.23% 16.195 1 แม่แบบ:Div_col"," 8.93% 15.662 1 แม่แบบ:บทความหลัก"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.040","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1203435,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1257","timestamp":"20190314102347","ttl":3600,"transientcontent":true);mw.config.set("wgBackendResponseTime":109,"wgHostname":"mw1247"););