Skip to main content

ต้นแบบ (ชีววิทยา) ชนิดของต้นแบบ รายการเลือกการนำทางเพิ่มข้อมูล

อนุกรมวิธาน (ชีววิทยา)ระบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตบทความเกี่ยวกับ ชีววิทยา ที่ยังไม่สมบูรณ์


ลอนดอนตัวอย่างต้นแบบแรก










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




ต้นแบบ (ชีววิทยา)




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา


ต้นแบบ (Biological type) คือสิ่งที่เป็นตัวแทนของสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งถูกอ้างอิงถึงในการอธิบายลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ เป็นตัวแทนในการบ่งบอกถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายในรูปร่างลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ทั้งเรื่องความแตกต่างของลักษณะเพศ, ช่วงอายุ เป็นต้น สามารถใช้ตรวจสอบคุณภาพของเอกสารวิชาการที่กล่าวถึงและตั้งชื่อสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ ได้ ใช้ในการเปรียบเทียบเมื่อมีการพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่หรือในอีกทางหนึ่งเพื่อยุบรวมสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายกันสองชนิด


ในทางชีววิทยา ต้นแบบจะเป็นสิ่งที่ใช้ในการตั้งชื่อทางอนุกรมวิธานตามระบบการตั้งชื่อ ต้นแบบอาจเป็น ตัวอย่าง ภาพวาด สิ่งมีชีวิต หรือรายละเอียดก็ได้ เช่น พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติในลอนดอนมีตัวอย่างหมายเลข 1886.6.24.20 ซึ่งเป็นตัวอย่างของเหยี่ยวลาย (Circus assimilis) ตัวอย่างนี้เป็นตัวอย่างต้นแบบแรกของเหยี่ยวชนิดนี้ ชื่อ Circus assimilis โดยคำนิยามถึงชนิดของตัวอย่างที่พิเศษนี้ (assimilis หรือ adsimils แปลว่า คล้าย หรือ เหมือน ความหมาย คือ " ลักษณะคล้ายกับนกต้นแบบ ")





ชนิดของต้นแบบ



  • ตัวอย่างต้นแบบแรก (Holotype) เป็นตัวแทนของสิ่งมีชีวิตเพียงหนึ่งเดียว โดยมีการคัดเลือกมาจากตัวอย่างหลายๆตัวอย่าง ที่มีลักษณะมาตรฐานของชนิดนั้นๆ อย่างชัดเจน ถือเป็นตัวอย่างต้นแบบที่มีความสำคัญที่สุด


  • ตัวอย่างคู่ตัวอย่างต้นแบบ (Isotype) เป็นส่วนหรือตัวอย่างย่อยของตัวอย่างต้นแบบแรก


  • ตัวอย่างเคียงตัวอย่างต้นแบบ (Paratype) เป็นตัวแทนที่หลงเหลือจากการเลือกตัวอย่างต้นแบบแรกจากตัวแทนของสิ่งมีชีวิตที่ถูกอ้างถึงในเอกสารวิชาการพร้อมกับตัวอย่างต้นแบบแรก


  • ตัวอย่างต้นแบบที่ยังไม่ได้เลือก (Syntype) หรือ ตัวอย่างร่วมแบบ (Cotype) เป็นตัวแทนหนึ่งหรือหลายๆตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตหนึ่งที่ยังไม่มีการกำหนดตัวอย่างต้นแบบแรก ไว้ เนื่องจากแต่ในสมัยก่อนระบบทางอนุกรมวิธานยังไม่รัดกุมเพียงพอและแตกต่างกันไปตามประเทศต่างๆ บ่อยครั้งทำให้มีการตั้งชื่อหลากหลายชื่อในสิ่งมีชีวิตเดียวกัน ตัวอย่างทั้งหมดที่ใช้ในการอ้างอิงจึงไม่ถูกจัดจำแนกความสำคัญมีสถานะเท่าๆ กันหมด


  • ตัวอย่างเลือกเป็นตัวอย่างต้นแบบ (Lectotype) เป็นตัวอย่างที่ถูกเลือกขึ้นมาจากตัวอย่างต้นแบบที่ยังไม่ได้เลือก ตัวใดตัวหนึ่ง


  • ตัวอย่างเคียงตัวอย่างเลือกเป็นต้นแบบ (Paralectotype) มีสถานะเหมือนตัวอย่างเคียงตัวอย่างต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่เหลือจากการเลือกตัวอย่างต้นแบบที่ยังไม่ได้เลือก ไปเป็นตัวอย่างเลือกเป็นตัวอย่างต้นแบบ แล้ว


  • ตัวอย่างใหม่แทนตัวอย่างต้นแบบ (Neotype) เป็นตัวแทนที่เลือกขึ้นมาใหม่จากตัวอย่างที่เก็บรวบรวมขึ้นใหม่หรือจากตัวอย่างที่เก็บรักษาไว้ เพื่อเป็นตัวอย่างต้นแบบ แต่ต้องมีคำอธิบายที่ชัดเจนว่าเป็นชนิดเดียวกันอย่างแน่นอน เนื่องจากแต่เดิมไม่มีตัวอย่างต้นแบบแรก หรือ มีแต่ถูกทำลายหรือสูญหาย


  • ตัวอย่างถิ่นเดิมตัวอย่างต้นแบบ (Topotype) เป็นตัวอย่างที่เก็บมาจากบริเวณเดียวกันกับตัวอย่างต้นแบบแรก










ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ต้นแบบ_(ชีววิทยา)&oldid=6383196"










รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.012","walltime":"0.022","ppvisitednodes":"value":31,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":1622,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":109,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":5,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":0,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 6.106 1 แม่แบบ:โครงชีววิทยา","100.00% 6.106 1 -total"," 60.89% 3.718 1 แม่แบบ:หมวดโครง"],"cachereport":"origin":"mw1266","timestamp":"20190410123922","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e15u0e49u0e19u0e41u0e1au0e1a (u0e0au0e35u0e27u0e27u0e34u0e17u0e22u0e32)","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A_(%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2)","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q3707858","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q3707858","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2009-04-13T02:47:36Z","dateModified":"2016-03-16T04:10:04Z","headline":"u0e2bu0e19u0e49u0e32u0e41u0e01u0e49u0e04u0e27u0e32u0e21u0e01u0e33u0e01u0e27u0e21u0e27u0e34u0e01u0e34u0e1eu0e35u0e40u0e14u0e35u0e22"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":140,"wgHostname":"mw1327"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области