Skip to main content

ใบไม้ เนื้อหา กายวิภาคของใบ ประเภทของใบไม้ ศัพท์บัญญัติที่เกี่ยวข้องกับใบ อ้างอิง แหล่งข้อมูลอื่น รายการเลือกการนำทาง108 พรรณไม้ไทยนิเวชวิทยาสำหรับมือใหม่

พฤกษศาสตร์กายวิภาคศาสตร์ของพืชสรีรวิทยาของพืชPages using PMID magic links


อังกฤษกิ่งลำต้นมะม่วงกล้วยมะละกอมันสำปะหลังพฤกษศาสตร์










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




ใบไม้




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา




ใบไม้




โครงเส้นใบของใบไม้


ใบไม้ (อังกฤษ: leaf) เป็นส่วนที่สร้างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ใบไม้มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันหลายแบบแบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ๆ ตามลักษณะที่แตกต่างกัน


รูปพหูพจน์ของ leaf คือ leaves ส่วน foliage เป็นกลุ่มคำนามที่ใช้อธิบายว่าใบเป็นส่วนประกอบหนึ่งของพืช




เนื้อหา





  • 1 กายวิภาคของใบ


  • 2 ประเภทของใบไม้

    • 2.1 ใบเดี่ยว



  • 3 ศัพท์บัญญัติที่เกี่ยวข้องกับใบ

    • 3.1 รูปใบ (leaf shape)


    • 3.2 ใบขอบ (margins, edge)


    • 3.3 ปลายใบ


    • 3.4 โคนใบ


    • 3.5 ผิวใบ


    • 3.6 ขน (Hairiness (trichomes))



  • 4 อ้างอิง


  • 5 แหล่งข้อมูลอื่น




กายวิภาคของใบ


ลักษณะของใบพืชดอกที่สมบูรณ์นั้นประกอบไปด้วย ก้านใบ, แผ่นใบ, และ หูใบ ก้านใบนั้นจะเป็นส่วนต่อมาจากลำต้นใบบริเวณที่เรียกว่า "ง่ามกิ่งหรือซอกใบ" แต่ก็ใช่ว่าพืชทุกชนิดจะมีใบตามลักษณะที่กล่าวมาข้างต้น ในพืชบางชนิดคู่หูใบจะไม่ปรากฏเด่นชัดหรือไม่มีเลย ก้านใบอาจไม่มีหรือแผ่นใบอาจไม่เป็นแผ่นแบน ความหลากหลายที่มีมากมายนี้ถูกแสดงในกายวิภาคของใบจากชนิดหนึ่งถึงอีกชนิดหนึ่งที่ถูกเสนอในรายละเอียดภายใต้รูปร่างลักษณะของใบ


ใบนั้นถือว่าเป็นอวัยวะหนึ่งซึ่งทั่วไปประกอบไปด้วย:



  1. เนื้อเยื่อชั้นผิว ที่จะปกคลุมผิวด้านบน (2) และด้านล่าง (5)


  2. พาเรงคิมา ภายในที่เรียกว่ามีโซฟิลล์ (3:แพลิเซด มีโซฟิลล์) (4:สปองจี มีโซฟิลล์)

  3. ข้อของเส้นใบ (10:ท่อลำเลียง) (8:ไซเล็ม) (9:โฟลเอ็ม)


  4. ปากใบ (6)


  5. เซลล์คุม (7)


  6. ผิวเคลือบคิวทิน (1) ที่ปกคลุมเนื้อเยื่อชั้นผิวอีกที

Diagram of leaf internal


ประเภทของใบไม้



ใบเดี่ยว


ใบเดี่ยว (simple leaf) หมายถึงใบที่มีเพียงใบเดียวติดกับก้านที่แตกออกจากกิ่งหรือลำต้น เช่น มะม่วง กล้วย แต่ยังมีใบเดี่ยวบางชนิดที่ขอบใบเว้าเข้าไปมากทำให้ดูคล้ายใบประกอบ เช่น มะละกอ มันสำปะหลัง



  • ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaves) ใบย่อยแต่ละใบแยกออกจากก้าน 2 ข้างของแกนกลาง คล้ายขนนก ถ้าปลายสุดของใบจะเป็นใบย่อยเพียงใบเดียวเรียก แบบขนนกคี่ (odd pinnate) เช่น กุหลาบ อัญชัน ก้ามปู ถ้าสุดปลายใบมี 2 ใบ เรียกแบบขนนกคู่ (even pinnate) เช่น มะขาม ขี้เหล็ก แคบ้าน ใบประกอบแบบขนนกอาจแบ่งย่อยได้อีก คือ

    • ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว (unipinnate) เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยแยกออกจากแกนกลางเพียงครั้งเดียว เช่น กุหลาบ มะขาม ขี้เหล็ก


    • ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น (bipinnate) เป็นใบประกอบแบบขนนกที่แยกออกจากก้านเป็นครั้งที่ 2 จึงมีใบย่อย เช่น ก้ามปู หางนกยูง


    • ใบประกอบแบบขนนกสามชั้น (tripinnate) เป็นใบประกอบแบบขนนกที่แตกแขนงออกจากก้านเป็นครั้งที่ 3 จึงมีใบย่อย เช่น ปีบ มะรุม


ศัพท์บัญญัติที่เกี่ยวข้องกับใบ



รูปใบ (leaf shape)




รูปวาดรูปใบ คลิกเพื่อแสดงรายละเอียด




ใบแบบรอบข้อ (Perfoliate)


ในพฤกษศาสตร์ใช้ศัพท์เพื่อพรรณนาถึงรูปใบดังนี้:


  • ใบรูปเข็ม : Acicular (acicularis)

  • ใบรูปลิ่มแคบ : Subulate (subulata)

  • Acuminate (acuminata) : เรียวแหลม

  • Aristate (aristata) : แหลมเข็ม, มีรยางค์แข็ง

  • Cordate (cordata) : รูปหัวใจ

  • Cuneate (cuneata) : รูปลิ่ม

  • Deltoid (deltoidea) : สามเหลี่ยม

  • Digitate (digitata) : รูปนิ้วมือ

  • Elliptic (elliptica) : รีรูปไข่

  • Falcate (falcata) : รูปเคียว

  • Flabellate (flabellata) : พัด

  • Hastate (hastata) : เงี่ยงใบหอก

  • Lance-shaped, lanceolate (lanceolata) : ใบหอก

  • Linear (linearis) : แถบ

  • Lobed (lobata) : เป็นแฉก, เป็นพู, เป็นหยัก

  • Obcordate (obcordata) : หัวใจกลับ

  • Oblanceolate (oblanceolata) : ใบหอกกลับ

  • Oblong (oblongus) : ขอบขนาน

  • Obovate (obovata) : ไข่กลับ

  • Obtuse (obtusus) : ป้าน, มน

  • Orbicular (orbicularis) : กลม

  • Ovate (ovata) : Oval, รีกว้าง รูปไข่

  • Palmate (palmata) : รูปฝ่ามือ,แบบนิ้วมือ

  • Pedate (pedata) : แบบตีนเป็ด








ใบขอบ (margins, edge)










ปลายใบ




หมุนตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: สามแฉกลึกสุด, ขอบใบเป็นจักฟันเลื่อยถี่รูปรี, การเรียงเส้นใบรูปฝ่ามือแบบก้นปิด, แบบขนนกปลายคี่เรียวแหลม (กลาง) , หยักลึกสุดแบบขนนก, เป็นหยัก, ขอบใบรูปรี


  • acuminate: เรียวแหลม

  • acute: แหลม

  • cuspidate: เป็นติ่งแหลม

  • emarginate: เว้าตื้น

  • mucronate: เป็นติ่งหนาม

  • mucronulate: เป็นติ่งหนามสั้น

  • obcordate: รูปหัวใจกลับ

  • obtuse: ป้าน, มน

  • truncate: ปลายตัด


โคนใบ


  • acuminate: เรียวแหลม

  • acute: แหลม

  • auriculate: รูปติ่งหู, รูปติ่งใบ

  • cordate: รูปหัวใจ

  • cuneate: รูปลิ่ม

  • hastate: รูปเงี่ยงใบหอก

  • oblique: เบี้ยว

  • reniform: รูปไต

  • rounded: กลม

  • sagittate: รูปเงี่ยงลูกศร

  • truncate: ปลายตัด


ผิวใบ










ขน (Hairiness (trichomes))




ใบที่ปกคลุมด้วยขนสั้นหนานุ่มรูปดาวอย่างหนาแน่น




ภาพขนสั้นหนานุ่มบนพื้นที่ส่วนล่างใบของ Coleus blumei จากการส่องกล้องจุลทรรศน์อิเล็กทรอน


  • glabrous: เกลี้ยง

  • arachnoid, arachnose: ขนคล้ายใยแมงมุม

  • barbellate: มีขนบางรูปตะขอ, มีหนามบางรูปตะขอ

  • bearded: มีขนเครา

  • bristly: มีขนแข็ง

  • canescent, hoary: ขนสั้นสีเทา

  • ciliate: เป็นขนครุย

  • ciliolate: เป็นขนครุยสั้น

  • floccose: มีขนปุย (ร่วงง่าย)

  • glandular: มีต่อม

  • hirsute: ขนหยาบแข็ง

  • hispid, scabrous, scabrid: ขนสาก

  • hispidulous: ขนคาย

  • lanate, lanose, woolly: แบบขนแกะ

  • pilose: มีขนยาวห่าง

  • puberulent, puberulous: ขนละเอียด

  • pubescent: ขนสั้นนุ่ม

  • sericeous: คล้ายไหม

  • silky: เหมือนไหม

  • stellate, stelliform: รูปดาว

  • strigose: ขนแข็งเอน

  • tomentose: มีขนสั้นหนานุ่ม

  • villous: มีขนอุย


อ้างอิง


  • Haupt, Arthur Wing, Plant morphology. Publisher: McGraw-Hill 1953. Downloable from http://www.archive.org/details/plantmorphology00haup

  • a b Mauseth, James D. Botany: An Introduction to Plant Biology. Publisher: Jones & Bartlett, 2008 ISBN 978-0763753450

  • Willert, Dieter J. von; Eller, Benno M.; Werger, Marinus J. A.; Brinckmann, Enno; Ihlenfeldt, Hans-Dieter: Life Strategies of Succulents in Deserts. Publisher: Cambridge University Press 1992. ISBN 978-0521244688

  • Bayer, M. B. (1982). The New Haworthia Handbook. Kirstenbosch: National Botanic Gardens of South Africa. ISBN 0620056320.

  • Marloth, Rudolf. “The Flora of South Africa” 1932 Pub. Capetown: Darter Bros. London: Wheldon & Wesley.

  • James, Shelley A., Bell, David T. ; Influence of light availability on leaf structure and growth of two Eucalyptus globulus ssp. globulus provenances; Tree Physiology, Volume20, Issue15, Pp. 1007-1018.

  • Thomas F. Döring; Marco Archetti; Jim Hardie (2009), "Autumn leaves seen through herbivore eyes" ([1] – Scholar search), Proceedings of the Royal Society B Biological Sciences 276 (1654): 121–127, doi:10.1098/rspb.2008.0858, PMC 2614250, PMID 18782744

  • Published by Thames and Hudson (London) with an ISBN 0 500 54104 3


แหล่งข้อมูลอื่น


  • 108 พรรณไม้ไทย


  • นิเวชวิทยาสำหรับมือใหม่ (อังกฤษ)




ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ใบไม้&oldid=8007860"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.068","walltime":"0.099","ppvisitednodes":"value":177,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":1602,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":115,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":4,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":0,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 25.623 1 -total"," 27.52% 7.051 1 แม่แบบ:En"," 22.04% 5.647 2 แม่แบบ:Col-2"," 20.00% 5.125 1 แม่แบบ:Lang-en"," 13.91% 3.563 2 แม่แบบ:Col-break"," 9.60% 2.461 1 แม่แบบ:Languageicon"," 9.17% 2.351 6 แม่แบบ:Col-3"," 8.99% 2.304 3 แม่แบบ:Col-begin"," 8.30% 2.126 3 แม่แบบ:Col-end"," 8.13% 2.084 1 แม่แบบ:LangWithName"],"cachereport":"origin":"mw1264","timestamp":"20190418214210","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e43u0e1au0e44u0e21u0e49","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q33971","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q33971","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-03-13T14:34:57Z","dateModified":"2018-12-12T18:49:02Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/f/f4/Leaf_1_web.jpg"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":168,"wgHostname":"mw1319"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области