Skip to main content

สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เนื้อหา ประวัติ การศึกษา การทำงาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อ้างอิง รายการเลือกการนำทางวิเคราะห์คอลัมนิสต์ 27 08 58สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เสียชีวิตโรคมะเร็ง

อดุล อดุลเดชจรัสช่วง เชวงศักดิ์สงครามดิเรก ชัยนามเดือน บุนนาคสวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติผิน ชุณหะวัณมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์นายวรการบัญชาฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีหลวงยุทธศาสตร์โกศลกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ประภาส จารุเสถียรสุกิจ นิมมานเหมินท์ถนอม กิตติขจรพจน์ สารสินประกอบ หุตะสิงห์เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ประมาณ อดิเรกสารทวิช กลิ่นประทุมบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ทวี จุลละทรัพย์ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์บุญชัย บำรุงพงศ์อัมพร จันทรวิจิตรสุนทร หงส์ลดารมภ์สมภพ โหตระกิตย์เสริม ณ นครเล็ก แนวมาลีถนัด คอมันตร์บุญชู โรจนเสถียรประจวบ สุนทรางกูรทองหยด จิตตวีระพิชัย รัตตกุลสนธิ บุณยะชัยสิทธิ เศวตศิลาชาติชาย ชุณหะวัณพงส์ สารสินเทียนชัย ศิริสัมพันธ์ชวน หลีกภัยชวลิต ยงใจยุทธประมวล สภาวสุสนั่น ขจรประศาสน์มานะ รัตนโกเศศอาทิตย์ กำลังเอกบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์โกศล ไกรฤกษ์เสนาะ อูนากูลเภา สารสินมีชัย ฤชุพันธุ์ณรงค์ วงศ์วรรณสมบุญ ระหงษ์มนตรี พงษ์พานิชสมัคร สุนทรเวชเกษม สุวรรณกุลเกษมสโมสร เกษมศรียงยุทธ วิชัยดิษฐเฉลิม อยู่บำรุงโกวิท วัฒนะกิตติรัตน์ ณ ระนองชุมพล ศิลปอาชายุทธศักดิ์ ศศิประภาสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลปลอดประสพ สุรัสวดีพงศ์เทพ เทพกาญจนายุคล ลิ้มแหลมทองประชา พรหมนอกนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาลประวิตร วงษ์สุวรรณปรีดิยาธร เทวกุลยงยุทธ ยุทธวงศ์ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกรวิษณุ เครืองามประจิน จั่นตองณรงค์ พิพัฒนาศัยสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ฉัตรชัย สาริกัลยะ


บุคคลจากจังหวัดเชียงใหม่ทหารบกชาวไทยข้าราชการพลเรือนชาวไทยนักการเมืองไทยรองนายกรัฐมนตรีไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไทยอธิบดีกรมสรรพากรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยแบบบัญชีรายชื่อพรรคไทยรักไทยสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.สมาชิกเหรียญจักรพรรดิมาลาเสียชีวิตจากมะเร็งกล่องเสียงบุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญบุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2483บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลฝาแฝดจากประเทศไทย


21 เมษายนพ.ศ. 248322 ตุลาคมพ.ศ. 2552จังหวัดเชียงใหม่สุจินต์ เชาว์วิศิษฐสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษสุรศักดิ์ เชาว์วิศิษฐสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครฝาแฝดโรคมะเร็ง22 ตุลาคมพ.ศ. 2552โรงเรียนอัสสัมชัญประเทศฮ่องกงประเทศอังกฤษกองทัพบกกระทรวงการคลังกรมสรรพากรทักษิณ ชินวัตรรองนายกรัฐมนตรี










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




สุชาติ เชาว์วิศิษฐ




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา





















ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ


รองนายกรัฐมนตรี

ดำรงตำแหน่ง
10 มีนาคม พ.ศ. 2547 – 5 ตุลาคม พ.ศ. 2547
นายกรัฐมนตรี

พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

ดำรงตำแหน่ง
8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 – 10 มีนาคม พ.ศ. 2547
นายกรัฐมนตรี

พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ก่อนหน้า

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
ถัดไป
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด

21 เมษายน พ.ศ. 2483
จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
เสียชีวิต

22 ตุลาคม พ.ศ. 2552 (อายุ 69 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
พรรคการเมือง

ไทยรักไทย
คู่สมรส
นางรัตนา เชาว์วิศิษฐ
ศาสนา

พุทธ

ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ (21 เมษายน พ.ศ. 2483 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง




เนื้อหา





  • 1 ประวัติ


  • 2 การศึกษา


  • 3 การทำงาน


  • 4 เครื่องราชอิสริยาภรณ์


  • 5 อ้างอิง




ประวัติ


เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2483 ที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นน้องชายของนายสุจินต์ เชาว์วิศิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เจ้าของฉายา "ส.ส.ปลาทูเค็ม" และนายสุรศักดิ์ เชาว์วิศิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร[1] และมีน้องชายฝาแฝด คือ ร้อยโท สุชาย เชาว์วิศิษฐ อดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงไทย[2]


ชีวิตครอบครัวสมรสกับนางรัตนา เชาว์วิศิษฐ


ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ เสียชีวิตลงด้วยโรคมะเร็งกล่องเสียง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552[3]



การศึกษา


ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนอัสสัมชัญ ต่อมาปี พ.ศ. 2499 จบการศึกษาจาก SCHOOL LEAVING CERTIFICATE DIOCESAN BOY'S SCHOOL ประเทศฮ่องกง


ปี พ.ศ. 2502 จาก GCE A' LEVEL BRISTOL COLLEGE OF COMMERCE ประเทศอังกฤษ และสำเร็จการศึกษาปริญญาตรี ECONOMICS LONDON SCHOOL OF ECONOMICS AND POLITICAL SCIENCE ในปี พ.ศ. 2505



การทำงาน


ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 สังกัดกองทัพบก ในตำแหน่ง ทส.เจ้ากรมการเงินทหารบก และโอนมาสังกัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ในตำแหน่ง วิทยากรโท สศค. และได้ดำรงตำแหน่งสำคัญๆ ในกระทรวงการคลังหลายตำแหน่ง อาทิ ผู้อำนวยการกองกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ในปี 2521 ผู้อำนวยการกองอากร กรมสรรพากร และผู้อำนวยการโรงงานกระสอบ ปี 2523 สรรพากรเขต 3 ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผน กรมสรรพากร รองอธิบดีกรมสรรพากร


ในปี พ.ศ. 2536 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองปลัดกระทรวงการคลัง อีก 2 ปีต่อมาเป็นอธิบดีกรมสรรพากร อธิบดีกรมธนารักษ์ ตำแหน่งละ 1 ปี และกลับมาเป็นอธิบดีกรมสรรพากรอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2540


ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในปี พ.ศ. 2546 ต่อมาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2547 ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ ก็ได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็น รองนายกรัฐมนตรี อีกตำแหน่งหนึ่ง



เครื่องราชอิสริยาภรณ์


  • พ.ศ. 2539 - Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)

  • พ.ศ. 2536 - Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.svg เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)


อ้างอิง




  1. [1]


  2. วิเคราะห์คอลัมนิสต์ 27 08 58


  3. สุชาติ เชาว์วิศิษฐ เสียชีวิตโรคมะเร็ง














ก่อนหน้า

สุชาติ เชาว์วิศิษฐ

ถัดไป

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
2leftarrow.png
Seal of the Ministry of Finance (Thailand).png
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ครม.54)
(8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2547)
2rightarrow.png
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์






ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=สุชาติ_เชาว์วิศิษฐ&oldid=7664704"










รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.384","walltime":"0.451","ppvisitednodes":"value":7413,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":220233,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":18053,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":12,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":1210,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 289.820 1 -total"," 60.28% 174.691 1 แม่แบบ:กล่องข้อมูล_นักการเมือง"," 21.86% 63.356 16 แม่แบบ:Infobox_officeholder/Office"," 16.10% 46.649 7 แม่แบบ:Navbox"," 10.13% 29.353 1 แม่แบบ:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย"," 9.11% 26.413 1 แม่แบบ:Navbox_with_collapsible_groups"," 9.00% 26.085 1 แม่แบบ:Infobox_officeholder/Personal_data"," 8.93% 25.886 1 แม่แบบ:คณะรัฐมนตรีคณะที่_54_ของไทย"," 5.94% 17.202 2 แม่แบบ:Br_separated_entries"," 5.23% 15.155 1 แม่แบบ:Px"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.030","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1266888,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1338","timestamp":"20190414155309","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e2au0e38u0e0au0e32u0e15u0e34 u0e40u0e0au0e32u0e27u0e4cu0e27u0e34u0e28u0e34u0e29u0e10","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4_%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%90","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q459915","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q459915","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2009-10-22T08:55:23Z","dateModified":"2018-06-08T10:32:50Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/7/7b/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4_%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%90.jpg"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":109,"wgHostname":"mw1262"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области