Skip to main content

วัดพิชยญาติการามวรวิหาร ปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุที่สำคัญของวัด ลำดับเจ้าอาวาส อ้างอิง รายการเลือกการนำทางประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวงวิกิแมเปียกูเกิลแมปส์มัลติแมปโกลบอลไกด์เทอร์ราเซิร์ฟเวอร์13°43′58″N 100°29′50″E / 13.732647°N 100.497303°E / 13.732647; 100.497303เพิ่มข้อมูล

สิ่งก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2375พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหารวัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกายวัดในเขตคลองสานสิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาบทความเกี่ยวกับ วัดไทย ที่ยังไม่สมบูรณ์


พระอารามหลวงสะพานพุทธแขวงสมเด็จเจ้าพระยาเขตคลองสานสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตพระปรางค์ทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




วัดพิชยญาติการามวรวิหาร




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา




พระปรางค์วัดพิชยญาติการามวรวิหาร




"พระสิทธารถ" หรือ "หลวงพ่อสมปรารถนา" ภายในพระอุโบสถ วัดพิชัยญาติการามวรวิหาร




รอยพระบาท 4 พระองค์


วัดพิชัยญาติการาม หรือ วัดพิชัยญาติ เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร[1] สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เชิงสะพานพุทธ บริเวณที่เดิมเรียกว่าวงเวียนเล็ก ในแขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ตั้งอยู่ริมคลองบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน เดิมเป็นวัดร้าง แต่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) ครั้งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา ได้ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ประมาณ พ.ศ. 2372 - 2375 ในรัชกาลที่ 3 เนื่องจากสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อยขณะนั้นเป็นจางวางพระคลังสินค้า มีเรือสำเภาค้าขายกับจีน จึงได้นำอับเฉาเรือ กระเบื้องสี และหินมาจากจีน สถาปัตยกรรมวัดนี้มีลักษณะแบบไทยผสมจีน ซึ่งเป็นแบบพระราชนิยมในสมัยนั้น เมื่อบูรณะวัดเสร็จแล้ว ได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พระราชทานนามว่า "วัดพระยาญาติการาม" ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น "วัดพิชยญาติการาม" หรือที่คนทั่วไปเรียกกันว่า "วัดพิชัยญาติ"



ปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุที่สำคัญของวัด


พระอุโบสถ สร้างเป็นศิลปะแบบจีน ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา เนื่องจากสมัยก่อนเป็นวัดอยู่ในสวน จึงสร้างเพื่อหลบบรรดากิ่งไม้ ผลไม้ที่จะหล่นหรือหักไปกระทบหลังคาพระอุโบสถได้ องค์พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปั้น ปางมารวิชัย เป็นพระพุทธรูปโบราณรุ่นเดียวกับพระพุทธชินราชชินศรี โดยอัญเชิญมาจากวัดพระวิหาร หลวงเมืองพิษณุโลก นามว่า "พระสิทธารถ" หรือที่ชาวบ้านทั่วไปจะเรียกท่านว่า "หลวงพ่อสมปรารถนา" ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชนจำนวนมาก


พระพุทธรูปประดิษฐานหน้าองค์พระประธาน เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงหล่อเมื่อ พ.ศ. 2465 นามว่า พระวรวินายก


พระปรางค์องค์ใหญ่ วัดโดยรอบ 33 วา 2 ศอก ส่วนสูงตลอดยอดนภศูล 21 วา 1 ศอก 10 นิ้ว เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปั้น 4 องค์ หันพระพักตร์ไปสู่สี่ทิศ มีพระปรางค์องค์เล็ก 2 องค์ ขนาดวัดโดยรอบ 15 วา ส่วนสูงตลอดนภศูล 11 วา 1 ศอก 1 คืบ 2 กระเบียด ทิศตะวันออกเป็นที่ ประดิษฐานพระโพธิสัตว์พระศรีอาริย์ องค์ทิศตะวันตกเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง 4 รอย จำหลักด้วยแผ่นศิลา สัณนิฐานกันว่าเป็นของเก่า แต่ไม่ทราบว่านำมาจากที่ไหน


นอกจากนี้แล้วยังเป็นที่รู้จักกันดีว่า แม่ชีทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม (หรือธนพร) อาศัยอยูที่วัดนี้



ลำดับเจ้าอาวาส


  1. พระปรากรมมุนี

  2. พระเมธาธรรมรส (ถิ่น)

  3. พระเมธาธรรมรส (เอี่ยม ป.ธ.7)

  4. พระพุทธิวิริยาภรณ์ (น้อย)

  5. พระวิเชียรกระวี (เอี่ยม ป.ธ.4 )

  6. พระอริยกระวี (พลับ ป.ธ.4)


  7. พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) ป.ธ. 7

  8. พระราชเมธี (ท้วม ป.ธ.5)

  9. พระเขมาภิมุขธรรม (อิ่ม)

  10. พระเมธาธรรมรส (เสาร์ โสรโย ป.ธ.5)

  11. คณะกรรมการปกครอง

  12. พระญาณกิตติ (สมศักดิ์ สิริวณฺโณ ป.ธ.5)

  13. พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สาลี อินฺทโชโต)


  14. พระวิสุทธิวงศาจารย์ (สุง ธญฺญาโภ) ป.ธ.6

  15. พระราชธรรมสุนทร (ฉ่อง ถาวโร) ป.ธ. 8


  16. สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) ป.ธ.9


อ้างอิง




  1. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง, เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๒๙๑



  • แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ วัดพิชยญาติการามวรวิหาร
    • ภาพถ่ายดาวเทียมจากวิกิแมเปีย หรือกูเกิลแมปส์

    • แผนที่จากมัลติแมป หรือโกลบอลไกด์

    • ภาพถ่ายทางอากาศจากเทอร์ราเซิร์ฟเวอร์

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°43′58″N 100°29′50″E / 13.732647°N 100.497303°E / 13.732647; 100.497303











ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=วัดพิชยญาติการามวรวิหาร&oldid=7710261"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.108","walltime":"0.174","ppvisitednodes":"value":256,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":13072,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":712,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":8,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":712,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":1,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 131.667 1 -total"," 41.13% 54.153 1 แม่แบบ:เพิ่มอ้างอิง"," 37.43% 49.278 1 แม่แบบ:Ambox"," 31.01% 40.828 1 แม่แบบ:Geolinks-bldg"," 28.82% 37.945 1 แม่แบบ:Coord"," 8.22% 10.827 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 5.91% 7.779 1 แม่แบบ:โครงวัดไทย"," 3.15% 4.148 1 แม่แบบ:สร้างปี"," 2.02% 2.657 1 แม่แบบ:หมวดโครง"," 1.92% 2.524 2 แม่แบบ:Main_other"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.037","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1081735,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1245","timestamp":"20190313094711","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e27u0e31u0e14u0e1eu0e34u0e0au0e22u0e0du0e32u0e15u0e34u0e01u0e32u0e23u0e32u0e21u0e27u0e23u0e27u0e34u0e2bu0e32u0e23","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q2552338","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q2552338","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2006-09-27T02:12:18Z","dateModified":"2018-07-04T14:02:53Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/d6/0000149_-_%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1.jpg"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":142,"wgHostname":"mw1263"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области