Skip to main content

เจ้าคณะใหญ่ เนื้อหา การแบ่งการปกครอง คุณสมบัติ เจ้าคณะใหญ่ในปัจจุบัน อ้างอิง รายการเลือกการนำทาง"บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป"

เจ้าคณะใหญ่


พระสังฆาธิการการปกครองคณะสงฆ์ไทยสกลมหาสังฆปริณายกมหานิกายธรรมยุติกนิกายคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทยคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




เจ้าคณะใหญ่




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา








เจ้าคณะใหญ่
Buddhism dham jak.png
ที่พำนักวัด
ผู้แต่งตั้ง
พระมหากษัตริย์ โดยพระบรมราชโองการ
เงินเดือน23,900บาท[1]

เจ้าคณะใหญ่ เป็นตำแหน่งทางพระสังฆาธิการระดับสูงในการปกครองคณะสงฆ์ไทย รองจากสกลมหาสังฆปริณายก โดยแบ่งการปกครอง ดังนี้




เนื้อหา





  • 1 การแบ่งการปกครอง

    • 1.1 คณะสงฆ์มหานิกาย


    • 1.2 คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย


    • 1.3 คณะสงฆ์จีนนิกาย


    • 1.4 คณะสงฆ์อนัมนิกาย



  • 2 คุณสมบัติ


  • 3 เจ้าคณะใหญ่ในปัจจุบัน


  • 4 อ้างอิง




การแบ่งการปกครอง



คณะสงฆ์มหานิกาย


มี 4 ตำแหน่งปกครองคณะสงฆ์มหานิกายทั่วประเทศ



  • เจ้าคณะใหญ่หนกลาง มีเขตปกครอง 6 ภาค ได้แก่ ภาค 1,ภาค 2,ภาค 3,ภาค 13,ภาค 14 และภาค 15


  • เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ มีเขตปกครอง 4 ภาค ได้แก่ ภาค 4,ภาค 5,ภาค 6 และภาค 7


  • เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก มีเขตปกครอง 5 ภาค ได้แก่ ภาค 8,ภาค 9,ภาค 10 ภาค 11 และภาค 12


  • เจ้าคณะใหญ่หนใต้ มีเขตปกครอง 3 ภาค ได้แก่ ภาค 16,ภาค 17 และภาค 18


คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย


มีตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่ 1 ตำแหน่ง คือ เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ปกครองคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายทั่วประเทศ



คณะสงฆ์จีนนิกาย


มีตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่ 1 ตำแหน่ง คือ เจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย ปกครองคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย



คณะสงฆ์อนัมนิกาย


มีตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่ 1 ตำแหน่ง คือ เจ้าคณะใหญ่อนัมนิกาย ปกครองคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย



คุณสมบัติ


ตามกฎมหาเถรสมาคม ผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่ ต้องมีคุณสมบัติดังนี้


  • มีพรรษา 30 พรรษาขึ้นไป

  • มีสมณศักดิ์ไม่ต่ำกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ (รองสมเด็จพระราชาคณะ)


เจ้าคณะใหญ่ในปัจจุบัน


เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต

  • สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร


  • สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต) วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต

เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ

  • พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
เจ้าคณะใหญ่หนกลาง

  • สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) วัดพิชยญาติการามวรวิหาร
เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก

  • สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ)[2]วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร
เจ้าคณะใหญ่หนใต้

  • พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ) วัดกะพังสุรินทร์ จังหวัดตรัง
เจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย

  • พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (เย็นเต็ก) วัดโพธิ์แมนคุณาราม
เจ้าคณะใหญ่อนัมนิกาย

  • พระคณานัมธรรมเมธาจารย์ (ถนอม เถี่ยนถึก) วัดโลกานุเคราะห์


อ้างอิง




  1. "บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป". สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดภูเก็ต. 27 เมษายน 2555. สืบค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2560..mw-parser-output cite.citationfont-style:inherit.mw-parser-output qquotes:"""""""'""'".mw-parser-output code.cs1-codecolor:inherit;background:inherit;border:inherit;padding:inherit.mw-parser-output .cs1-lock-free abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/65/Lock-green.svg/9px-Lock-green.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-limited a,.mw-parser-output .cs1-lock-registration abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d6/Lock-gray-alt-2.svg/9px-Lock-gray-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-subscription abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/aa/Lock-red-alt-2.svg/9px-Lock-red-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registrationcolor:#555.mw-parser-output .cs1-subscription span,.mw-parser-output .cs1-registration spanborder-bottom:1px dotted;cursor:help.mw-parser-output .cs1-hidden-errordisplay:none;font-size:100%.mw-parser-output .cs1-visible-errorfont-size:100%.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registration,.mw-parser-output .cs1-formatfont-size:95%.mw-parser-output .cs1-kern-left,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-leftpadding-left:0.2em.mw-parser-output .cs1-kern-right,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-rightpadding-right:0.2em


  2. http://www.thairath.co.th/content/466137 โปรดเกล้าฯ 'พระพรหมเวที' วัดไตรมิตรฯ เป็น สมเด็จพระพุฒาจารย์











ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=เจ้าคณะใหญ่&oldid=7744693"










รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.132","walltime":"0.178","ppvisitednodes":"value":377,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":7745,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":367,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":7,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":1,"limit":20,"unstrip-size":"value":4311,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 146.057 1 -total"," 57.38% 83.802 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 47.78% 69.779 1 แม่แบบ:Cite_web"," 41.87% 61.157 1 แม่แบบ:กล่องข้อมูล_ตำแหน่งทางการเมือง"," 36.10% 52.727 1 แม่แบบ:Infobox"," 2.03% 2.959 1 แม่แบบ:Main_other"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.062","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1568216,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1246","timestamp":"20190302041845","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e40u0e08u0e49u0e32u0e04u0e13u0e30u0e43u0e2bu0e0du0e48","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q13024661","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q13024661","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2009-04-20T03:20:37Z","dateModified":"2018-07-23T13:52:33Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6d/Buddhism_dham_jak.png"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":113,"wgHostname":"mw1238"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области