Skip to main content

ประเทศออสเตรีย เนื้อหา ประวัติศาสตร์ การแบ่งเขตการปกครอง ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ ประชากร วัฒนธรรม ศาสนา อ้างอิง รายการเลือกการนำทาง48°12′N 16°21′E / 48.200°N 16.350°E / 48.200; 16.350"Austria"ประเทศออสเตรีย

ประเทศออสเตรียสหพันธ์สาธารณรัฐประเทศในระบบซีวิลลอว์รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2498


อังกฤษเยอรมันอังกฤษเยอรมันประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลยุโรปกลางประเทศเยอรมนีเช็กเกียสโลวาเกียฮังการีสโลวีเนียอิตาลีสวิตเซอร์แลนด์ลิกเตนสไตน์ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนรัฐสภารัฐเขตเทศบาลเสรีนิยมสังคมนิยมโรมันคาทอลิกโปรเตสแตนท์มุสลิม










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




ประเทศออสเตรีย




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

(เปลี่ยนทางจาก ออสเตรีย)





ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา












































































สาธารณรัฐออสเตรีย

Republik Österreich (เยอรมัน)




ธงชาติ ตราแผ่นดิน

คำขวัญ: ไม่มี

เพลงชาติ: Land der Berge, Land am Strome
("ดินแดนแห่งภูเขา, ดินแดนบนแม่น้ำ")





เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)

เวียนนา
48°12′N 16°21′E / 48.200°N 16.350°E / 48.200; 16.350
ภาษาราชการ
ภาษาเยอรมัน1
การปกครอง
ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
•  ประธานาธิบดี อเล็กซานเดอร์ แวน เดอ เบลเลน
•  นายกรัฐมนตรี เซบาสเตียน เคอรซ์
เอกราช
•  สนธิสัญญารัฐออสเตรีย
26 ตุลาคม พ.ศ. 2498 

เข้าร่วมสหภาพยุโรป

1 มกราคม พ.ศ. 2538
พื้นที่
•  รวม
83,872 ตร.กม. (113)
32,383 ตร.ไมล์ 
•  แหล่งน้ำ (%) 1.3
ประชากร
•  2550 (ประเมิน) 8,316,487 (93)
•  2544 (สำมะโน) 8,032,926 
•  ความหนาแน่น 99 คน/ตร.กม. (99)
257 คน/ตร.ไมล์

จีดีพี (อำนาจซื้อ)
2560 (ประมาณ)
•  รวม $ 434.097 พันล้าน 
•  ต่อหัว $ 49,247 

จีดีพี (ราคาตลาด)
2560 (ประมาณ)
•  รวม $ 409.316 พันล้าน 
•  ต่อหัว $ 46,435 

จีนี (2557)
30.5[1] 

HDI (2559)

Increase 0.893 (สูงมาก) (24th)
สกุลเงิน
ยูโร² (EUR)
เขตเวลา
CET (UTC+1)
 •  ฤดูร้อน (DST)
CEST (UTC+2)
โดเมนบนสุด .at
รหัสโทรศัพท์ 43
¹ภาษาทางการในระดับภูมิภาคได้แก่ ภาษาสโลวีเนีย ภาษาโครเอเชีย ภาษาฮังการี ส่วนภาษามือออสเตรียได้รับการคุ้มครองในฐานะภาษาของชนกลุ่มน้อย
²ก่อนหน้าปี พ.ศ. 2542: ชิลลิงออสเตรีย

ออสเตรีย (อังกฤษ: Austria; เยอรมัน: Österreich [ˈøːstɐˌʁaɪç] เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (อังกฤษ: Republic of Austria; เยอรมัน: Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรัฐสภา




เนื้อหา





  • 1 ประวัติศาสตร์


  • 2 การแบ่งเขตการปกครอง


  • 3 ภูมิศาสตร์


  • 4 เศรษฐกิจ


  • 5 ประชากร


  • 6 วัฒนธรรม


  • 7 ศาสนา


  • 8 อ้างอิง




ประวัติศาสตร์


ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์ออสเตรีย


การแบ่งเขตการปกครอง




เขตการปกครองของออสเตรีย


ออสเตรียเป็นประเทศสหพันธรัฐที่ประกอบด้วย 9 รัฐ (states - Bundesländer) รัฐเหล่านี้แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น เขต (districts - Bezirke) และ นคร (cities - Statutarstädte) ซึ่งในเขตแต่ละแห่งยังแบ่งออกเป็นเทศบาล (municipalities- Gemeinden)


รัฐทั้ง 9 แห่งของออสเตรีย ได้แก่


  • 1. รัฐบูร์เกนลันด์ (Burgenland) มีเมืองไอเซนชตัดท์ (Eisenstadt) เป็นเมืองหลวงของรัฐ
  • 2. รัฐคารินเทีย หรือ แคร์นเทิน (Carinthia; Kärnten) มีเมืองคลาเกนฟูร์ท (Klagenfurt) เป็นเมืองหลวง
  • 3. รัฐโลว์เออร์ออสเตรีย หรือ นีเดอร์เอิสเทอร์ไรช์ (Lower Austria; Niederösterreich) มีเมืองซังคท์เพิลเทิน (St. Pölten) เป็นเมืองหลวง
  • 4. รัฐอัปเปอร์ออสเตรีย หรือ โอเบอร์เอิสเทอร์ไรช์ (Upper Austria; Oberösterreich) มีเมืองลินซ์ (Linz) เป็นเมืองหลวง
  • 5. รัฐซาลซ์บูร์ก (Salzburg) มีเมืองซาลซ์บูร์ก เป็นเมืองหลวง
  • 6. รัฐสติเรีย หรือ ชไตเออร์มาร์ค (Styria; Steiermark) มีเมืองกราซ (Graz) เป็นเมืองหลวง
  • 7. รัฐทิโรล (Tirol) มีเมืองอินส์บรุค (Innsbruck) เป็นเมืองหลวง
  • 8. รัฐโฟราร์ลแบร์ก (Vorarlberg) มีเมืองเบรเกนซ์ (Bregenz) เป็นเมืองหลวง
  • 9. รัฐเวียนนา หรือ วีน (Vienna; Wien)


ภูมิศาสตร์


ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน ตามแผนที่ประเทศออสเตรียมีความกว้างจากทิศตะวันออกจรดทิศตะวันตกมากกว่า 575 กิโลเมตร มีความยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้มากกว่า 294 กิโลเมตร


ประมาณ 60% ของสภาพภูมิประเทศของประเทศออสเตรียมีลักษณะเป็นภูเขาและเนินเขา ซึ่งได้รับการขานนามให้เป็น "ดินแดนแห่งขุนเขา" ประเทศออสเตรียมีการพาดผ่านของเส้นทาง "แม่น้ำดานูบ" (Donau) โดยผ่านรัฐโลว์เออร์ออสเตรียหรือนีเดอร์เอิสเทอร์ไรช์ (Lower Austria; Niederösterreich) และรัฐอัปเปอร์ออสเตรียหรือโอเบอร์เอิสเทอร์ไรช์ (Upper Austria; Oberösterreich) ก่อนไหลต่อไปยังประเทศเช็กเกีย ภูมิประเทศของประเทศออสเตรียแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะคือ



ภูเขา (Berge) 

ภูเขาสูงในประเทศออสเตรียมีความสูงจากระดับน้ำทะเลกว่า 3,000 เมตร ยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศออสเตรียตั้งอยู่ทางเทือกเขาด้านตะวันออก (Ostalpen) ด้วยความสูง 3,798 เมตร มีชื่อว่า โกรสส์กล็อกเนอร์ (Großglockner) ยอดเขาที่สูงรองลงมาคือ วิลด์ชปิทเซอ (Wildspitze) ด้วยความสูง 3,774 เมตร และยอดเขาที่สูงเป็นอันดับที่สามของประเทศออสเตรยคือ ไวสส์คูเกิล (Weißkugel) ด้วยความสูง 3,738 เมตร ด้วยลักษณะของภูเขาเป็นจุดสำคัญในการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบกีฬาฤดูหนาว (Wintersport) ยกตัวอย่างเช่น สกี สโนว์บอร์ด เป็นต้น ส่วนในฤดูร้อน ก็ยังสามารถที่จะท่องเที่ยวชื่นชมสภาพป่า และการปีนเขา อีกด้วย


ทะเลสาบ (Seen)

ทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรียมีชื่อว่า นอยซีดเลอร์เซ (Neusiedler See) โดยมีพื้นที่ประมาณ 77% หรือประมาณ 315 ตารางกิโลเมตร อยู่ที่รัฐบูร์เกนลันด์ (Burgenland) ส่วนพื้นที่อีกประมาณ 33% ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของประเทศฮังการี และยังมีทะเลสาบอื่นๆ ที่มีความสำคัญคือ อัทเทอร์เซ (Attersee) ด้วยพื้นที่ประมาณ 46 ตารางกิโลเมตร และเทราน์เซ (Traunsee) อยู่ในพื้นที่รัฐอัปเปอร์ออสเตรีย และทะเลสาบอื่น ๆ อีกมากมายที่มีความสำคัญมากสำหรับดึงดูดนักท่องเที่ยวในช่วงฤดูร้อน เช่น โบเดินเซ (Bodensee), ซัลซ์คัมเมอร์กูทส์ (Salzkammerguts), โวทเฮอร์ซี (Wörthersee), มิลล์ชเตทเทอร์เซ (Millstätter See), ออสเซียเคอร์เซ (Ossiacher See), ไวส์เซินเซ (Weißensee), โมนด์เซ (Mondsee), วอล์ฟกังเซ (Wolfgangsee) เป็นต้น


แม่น้ำ (Flüsse) 



เศรษฐกิจ


เป็นแบบเสรีนิยมผสมสังคมนิยม โดยรัฐมีบทบาทในอุตสาหกรรม และวิสาหกิจหลัก เช่น อุตสาหกรรมขั้นปฐม การผลิตกระแสไฟฟ้า ธนาคาร และกิจการสาธารณูปโภค สาเหตุที่รัฐได้เข้ามาจัดการบริหารแบบรวมศูนย์ ก็เพื่อป้องกันการครอบครองจากโซเวียตภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระทั่งในช่วงต้นทศวรรษที่ 90 ออสเตรียจึงเริ่มแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และได้พัฒนาเศรษฐกิจแบบตลาดได้สำเร็จ ซึ่งทำให้ประชาชนมีมาตรฐานความเป็นอยู่สูง รัฐบาลชุดที่ผ่านมา ซึ่งเป็นพรรคขวา ได้มีแผนที่จะแปรรูปรัฐวิสาหกิจการของรัฐเพิ่มเติม อันจะทำให้รัฐบาลออสเตรียมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจลดลง และในช่วงเวลาที่ผ่านมา ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างแบบ Social Partnership ในช่วงทศวรรษที่ 60 และ 70 ได้ลดน้อยลงตามเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่เปลี่ยนไป รัฐบาลชุดปัจจุบันซึ่งนำโดยพรรคฝ่ายซ้ายสังคมนิยมจึงมีนโยบายชะลอการแปรรูปรัฐวิสาหกิจลง และเป็นที่คาดว่า จะมีนโนบายที่ทำให้ความสัมพันธ์ของนายจ้างและลูกจ้างในภาคอุตสาหกรรมเป็นไปแบบ Social Partnership ต่อไป



ประชากร


จากการสำรวจในปี 2549 ประเทศออสเตรียมีประชากรโดยประมาณ 8,260,000 คน อายุขัยเฉลี่ยของประชากรหญิงสูงกว่าประชากรชาย
ประชากรหญิงออสเตรียมีอายุเฉลี่ย 82.1 ปี ส่วนประชากรชายออสเตรีย 76.4 ปี ในประเทศออสเตรียส่วนใหญ่ประชากรจะเป็นผู้สูงอายุ
และเนื่องจากค่าครองชีพในประเทศออสเตรียอยู่ในอัตราสูงมาก จึงมีผลในการส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ของประชากรลดลงเป็นอย่างมาก
ซึ่งอัตราการเกิดใหม่ของประชากรอยู่ที่ 0.45% ซึ่งถือว่าเป็นอัตราที่ต่ำมาก



















































วัฒนธรรม


ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกร้อยละ 73.6 คริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ร้อยละ 4.7 มุสลิมร้อยละ 4.2 อื่นๆ ร้อย ละ 3.5 ไม่ระบุร้อยละ2 ไม่นับถือศาสนาร้อยละ 12



ศาสนา


74.1% ของจำนวนประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก 4.6% ของจำนวนประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์, ประชากรจำนวนประมาณ 180,000 คน นับถือนิกายคริสต์นิกายออโธด็อกส์, ประชากรจำนวนประมาณ 8,140 คนนับถือนิกายยิว, ประชากรจำนวนระหว่าง 15,000-338,998 คนนับถือศาสนาอิสลาม (ประเทศเริ่มมีศาสนาอิสลามมาตั้งแต่ปีคริสต์ศักราช 1912), ประชากรจำนวนมากกว่า 10,000 คนนับถือศาสนาพุทธ และประชากรจำนวน 20,000 คนเลือกที่จะไม่นับถือศาสนาใด ยึดหลักความเป็นกลาง (จากผลสำรวจในปีพุทธศักราช 2544 หรือปีคริสต์ศักราช 2001)





อ้างอิง




  1. "Austria". World Bank..mw-parser-output cite.citationfont-style:inherit.mw-parser-output qquotes:"""""""'""'".mw-parser-output code.cs1-codecolor:inherit;background:inherit;border:inherit;padding:inherit.mw-parser-output .cs1-lock-free abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/65/Lock-green.svg/9px-Lock-green.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-limited a,.mw-parser-output .cs1-lock-registration abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d6/Lock-gray-alt-2.svg/9px-Lock-gray-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-subscription abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/aa/Lock-red-alt-2.svg/9px-Lock-red-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registrationcolor:#555.mw-parser-output .cs1-subscription span,.mw-parser-output .cs1-registration spanborder-bottom:1px dotted;cursor:help.mw-parser-output .cs1-hidden-errordisplay:none;font-size:100%.mw-parser-output .cs1-visible-errorfont-size:100%.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registration,.mw-parser-output .cs1-formatfont-size:95%.mw-parser-output .cs1-kern-left,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-leftpadding-left:0.2em.mw-parser-output .cs1-kern-right,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-rightpadding-right:0.2em





  • ประเทศออสเตรีย จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศ

บรรณานุกรม


  • Brook-Shepherd, Gordon (1998). The Austrians: a thousand-year odyssey. New York: Carroll & Graf Publishers, Inc. ISBN 0-7867-0520-5.


  • Jelavich, Barbara (1987). Modern Austria: empire and republic 1815–1986. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-31625-1.


  • Johnson, Lonnie (1989). Introducing Austria: a short history. Riverside, Calif.: Ariadne Press. ISBN 0-929497-03-1.

  • Rathkolb, Oliver. The Paradoxical Republic: Austria, 1945–2005 (Berghahn Books; 2010, 301 pages). Translation of 2005 study of paradoxical aspects of Austria's political culture and society.


  • Schulze, Hagen (1996). States, nations, and nationalism: from the Middle Ages to the present. Cambridge, Mass.: Blackwell. ISBN 0-631-20933-6.





ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ประเทศออสเตรีย&oldid=8239559"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.380","walltime":"0.539","ppvisitednodes":"value":1841,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":137898,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":8247,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":12,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":6,"limit":500,"unstrip-depth":"value":1,"limit":20,"unstrip-size":"value":8684,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 373.814 1 -total"," 25.17% 94.102 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 22.87% 85.479 1 แม่แบบ:Cite_web"," 21.26% 79.477 1 แม่แบบ:กล่องข้อมูล_ประเทศ"," 18.30% 68.423 1 แม่แบบ:Long"," 16.95% 63.365 1 แม่แบบ:Ombox"," 8.36% 31.262 1 แม่แบบ:เมืองใหญ่สุด/ออสเตรีย"," 7.45% 27.838 1 แม่แบบ:ยุโรป"," 6.83% 25.513 1 แม่แบบ:เมืองใหญ่สุด"," 6.40% 23.930 1 แม่แบบ:Navbox_generic"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.110","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":3550451,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1308","timestamp":"20190421141222","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e1bu0e23u0e30u0e40u0e17u0e28u0e2du0e2du0e2au0e40u0e15u0e23u0e35u0e22","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q40","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q40","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-06-10T05:02:32Z","dateModified":"2019-04-21T14:12:20Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/4/41/Flag_of_Austria.svg","headline":"u0e2au0e32u0e18u0e32u0e23u0e13u0e23u0e31u0e10u0e43u0e19u0e22u0e38u0e42u0e23u0e1bu0e01u0e25u0e32u0e07"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":207,"wgHostname":"mw1265"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области