Skip to main content

อัมพร จินตกานนท์ เนื้อหา ประวัติ สถานที่ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ อ้างอิง รายการเลือกการนำทางแจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในสำนักนายกรัฐมนตรีธนาคารทหารไทยยุคเติบใหญ่อย่างก้าวร้าวจากธนาคารซ้ายหันขวาหันมาเป็นมืออาชีพแจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เพิ่มข้อมูล

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2456บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2531บุคคลจากจังหวัดตราดนักการเมืองไทยเลขาธิการนายกรัฐมนตรีไทยทหารบกชาวไทยข้าราชการพลเรือนชาวไทยปลัดกระทรวงพาณิชย์ไทยสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายหน้า)สมาชิกเหรียญจักรมาลาบทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์


พ.ศ. 2456พ.ศ. 2531รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์กระทรวงยุติธรรมกระทรวงการคลังปลัดกระทรวงพาณิชย์เลขาธิการบริหารของนายกรัฐมนตรีธนาคารทหารไทยอนันต์ จินตกานนท์อเนก จินตกานนท์










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




อัมพร จินตกานนท์




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา













พลโท อัมพร จินตกานนท์

เลขาธิการบริหารนายกรัฐมนตรี

ดำรงตำแหน่ง
16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 – พ.ศ. 2506
นายกรัฐมนตรี

จอมพลถนอม กิตติขจร
ถัดไป

สงวน จันทรสาขา
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด

พ.ศ. 2456
เสียชีวิต

พ.ศ. 2531
คู่สมรส
คุณหญิงรุจี จินตกานนท์

พลโทอัมพร จินตกานนท์ (พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2531) เป็น กรรมการเจ้าหน้าที่ควบคุมและตรวจข่าวโฆษณาทางหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ ตามประกาศ คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 4 คณะบริหารประเทศชั่วคราว[1] ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494 ผู้มีชื่อเสียงในช่วง พ.ศ. 2500-2520 ในฐานะเป็นนักการเมืองคนสำคัญในกลุ่มของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ พลโทอัมพร จินตกานนท์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ อาทิ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เลขาธิการบริหารของนายกรัฐมนตรี[2] และนอกจากนี้พลโทอัมพร ยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทยด้วย[3]




เนื้อหา





  • 1 ประวัติ


  • 2 สถานที่


  • 3 เครื่องราชอิสริยาภรณ์


  • 4 อ้างอิง




ประวัติ


พลโท อัมพร จินตกานนท์ เป็นบุตรของพระยาอรรถวิรัชวาทเศรณี (ปลั่ง จินตกานนท์) และคุณหญิงอรรถวิรัชวาทเศรณี มีพี่น้องรวมทั้งสิ้น 12 คน โดยพลโท อัมพรเป็นพี่ชายของอนันต์ จินตกานนท์ สมาชิกเสรีไทยและนักการทูตที่มีชื่อเสียง และ อเนก จินตกานนท์


พลโท อัมพร สมรสกับ คุณหญิงรุจี จินตกานนท์ (สกุลเดิม สิริวิสูตร) มีบุตร-ธิดา 3 คน ได้แก่


  1. ร.ท.หญิง รุจิราภรณ์ จุณณานนท์ สมรสกับ บดี จุณณานนท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ

  2. พล.ต.อมรรัตน์ จินตกานนท์ สมรสกับ 1. นางชดช้อย พงศ์ไพโรจน์ 2. นางหรรษา จินตกานนท์ (บุปผเวส) - (ถึงแก่กรรมพร้อมภรรยาจากอุบัติเหตุทางรถยนต์)

  3. ร.ท.ปภัสสร จินตกานนท์ สมรสกับ พล.ต.หญิง เรวดี จินตกานนท์ (สิทธิเดชะ)

ในปี พ.ศ. 2523 พลโท อัมพร ป่วยด้วยเส้นเลือดในสมองแตก ทำให้ต้องนอนเป็นเจ้าชายนิทรา (มีฟื้นมาบ้างเป็นระยะสั้นๆ) จวบจนกระทั่งถึงแก่อนิจกรรมในปี พ.ศ. 2531 และได้รับพระราชทานเพลิงศพ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2532[4]



สถานที่


  • โรงเรียนอัมพรจินตกานนท์ ตำบลหนองบอน อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด


เครื่องราชอิสริยาภรณ์


  • พ.ศ. 2508 - Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[5]

  • พ.ศ. 2504 - Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.svg เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[6]

  • พ.ศ. 2500 - Order of the White Elephant - 1st Class (Thailand) ribbon.png เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)[7]

  • พ.ศ. 2510 - Order of Chula Chom Klao - 2nd Class upper (Thailand) ribbon.svg เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)[8]


อ้างอิง




  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/D/071/12.PDF


  2. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในสำนักนายกรัฐมนตรี


  3. ธนาคารทหารไทยยุคเติบใหญ่อย่างก้าวร้าวจากธนาคารซ้ายหันขวาหันมาเป็นมืออาชีพ


  4. อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทอัมพร จินตกานนท์ ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว.


  5. ราชกิจจานุเบกษา,แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เล่ม 82 ตอนที่ 111 วันที่ 23 ธันวาคม 2508


  6. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์


  7. แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์


  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เล่ม 84 ตอนที่ 41 วันที่ 10 พฤษภาคม 2510












ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=อัมพร_จินตกานนท์&oldid=7808576"










รายการเลือกการนำทาง


























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.448","walltime":"0.529","ppvisitednodes":"value":8327,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":284402,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":23060,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":11,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":0,"limit":20,"unstrip-size":"value":4263,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 349.956 1 -total"," 45.25% 158.350 1 แม่แบบ:กล่องข้อมูล_ผู้นำประเทศ"," 26.63% 93.208 15 แม่แบบ:Navbox"," 20.23% 70.785 16 แม่แบบ:Infobox_officeholder/Office"," 17.55% 61.400 3 แม่แบบ:Navbox_with_collapsible_groups"," 9.95% 34.825 1 แม่แบบ:Infobox_officeholder/Personal_data"," 9.92% 34.702 1 แม่แบบ:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย"," 7.49% 26.211 1 แม่แบบ:คณะรัฐมนตรีคณะที่_27_ของไทย"," 6.69% 23.426 2 แม่แบบ:Br_separated_entries"," 6.62% 23.171 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.050","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":1614112,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1247","timestamp":"20190401053424","ttl":2592000,"transientcontent":false);mw.config.set("wgBackendResponseTime":107,"wgHostname":"mw1238"););

Popular posts from this blog

Masuk log Menu navigasi

Identifying “long and narrow” polygons in with PostGISlength and width of polygonWhy postgis st_overlaps reports Qgis' “avoid intersections” generated polygon as overlapping with others?Adjusting polygons to boundary and filling holesDrawing polygons with fixed area?How to remove spikes in Polygons with PostGISDeleting sliver polygons after difference operation in QGIS?Snapping boundaries in PostGISSplit polygon into parts adding attributes based on underlying polygon in QGISSplitting overlap between polygons and assign to nearest polygon using PostGIS?Expanding polygons and clipping at midpoint?Removing Intersection of Buffers in Same Layers

Старые Смолеговицы Содержание История | География | Демография | Достопримечательности | Примечания | НавигацияHGЯOLHGЯOL41 206 832 01641 606 406 141Административно-территориальное деление Ленинградской области«Переписная оброчная книга Водской пятины 1500 года», С. 793«Карта Ингерманландии: Ивангорода, Яма, Копорья, Нотеборга», по материалам 1676 г.«Генеральная карта провинции Ингерманландии» Э. Белинга и А. Андерсина, 1704 г., составлена по материалам 1678 г.«Географический чертёж над Ижорскою землей со своими городами» Адриана Шонбека 1705 г.Новая и достоверная всей Ингерманландии ланткарта. Грав. А. Ростовцев. СПб., 1727 г.Топографическая карта Санкт-Петербургской губернии. 5-и верстка. Шуберт. 1834 г.Описание Санкт-Петербургской губернии по уездам и станамСпецкарта западной части России Ф. Ф. Шуберта. 1844 г.Алфавитный список селений по уездам и станам С.-Петербургской губернииСписки населённых мест Российской Империи, составленные и издаваемые центральным статистическим комитетом министерства внутренних дел. XXXVII. Санкт-Петербургская губерния. По состоянию на 1862 год. СПб. 1864. С. 203Материалы по статистике народного хозяйства в С.-Петербургской губернии. Вып. IX. Частновладельческое хозяйство в Ямбургском уезде. СПб, 1888, С. 146, С. 2, 7, 54Положение о гербе муниципального образования Курское сельское поселениеСправочник истории административно-территориального деления Ленинградской области.Топографическая карта Ленинградской области, квадрат О-35-23-В (Хотыницы), 1930 г.АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1933, С. 27, 198АрхивированоАдминистративно-экономический справочник по Ленинградской области. — Л., 1936, с. 219АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Л., 1966, с. 175АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1973, С. 180АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — Лениздат, 1990, ISBN 5-289-00612-5, С. 38АрхивированоАдминистративно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб., 2007, с. 60АрхивированоКоряков Юрий База данных «Этно-языковой состав населённых пунктов России». Ленинградская область.Административно-территориальное деление Ленинградской области. — СПб, 1997, ISBN 5-86153-055-6, С. 41АрхивированоКультовый комплекс Старые Смолеговицы // Электронная энциклопедия ЭрмитажаПроблемы выявления, изучения и сохранения культовых комплексов с каменными крестами: по материалам работ 2016-2017 гг. в Ленинградской области